Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80039
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จิรพิพัฒน์ ธัญพงษ์ภัทร | - |
dc.contributor.author | รัชธิดา ภุมมะภูต | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-13T00:48:42Z | - |
dc.date.available | 2024-09-13T00:48:42Z | - |
dc.date.issued | 2024-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80039 | - |
dc.description.abstract | This study aims to develop a digital field recommendation system by classifying students' learning styles based on the VARK and Kolb models. The system uses the Support Vector Machine (SVM) algorithm to determine students' suitability for digital fields, with the goal of providing personalized educational recommendations. The study's results show that data variation significantly impacts the accuracy of the classification model. Modifying the data format reveals promising approaches with notable classification accuracy. The development of the digital field recommendation system for high school students received positive feedback from those who tested it. Most students expressed satisfaction with the system, with average satisfaction scores ranging from 3.2 to 4. In particular, the system's ability to recommend suitable digital fields (average score 4) and the recommendation for others to use the system (average score 3.92) were highly appreciated. The survey results indicate that the system has the potential to be effectively implemented in the educational system to assist students in making informed decisions about their field of study. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ระบบแนะนำด้วยการเรียนรู้ของเครื่องโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบวีเออาร์เคและโคล์บ สำหรับวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับดิจิทัล ของมหาวิทยาลัยในเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Recommended system with machine learning using vark and kolb learning style for the digital major of the University in Chiang Mai | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์ | - |
thailis.controlvocab.thash | อัลกอริทึม | - |
thailis.controlvocab.thash | คอมพิวเตอร์อัลกอริทึม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบแนะนำสาขาวิชาทางด้านดิจิทัลโดยการจำแนกจากรูปแบบทางการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้ VARK และ Kolb การในการใช้การเรียนรู้ของเครื่อง Support Vector Machine อัลกอริทึมในการจำแนกความเหมาะสมของนักเรียนต่อสาขาวิชาดิจิทัล มุ่งหวังที่จะให้คำแนะนำด้านการศึกษาที่เป็นส่วนบุคคลแก่นักเรียน ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าความแตกต่างของข้อมูลส่งผลต่อความแม่นยำของโมเดลการจำแนกสาขาวิชา จากการปรับเปลี่ยนรูปแบบข้อมูลทำให้เห็นถึงแนวทางที่มีความเป็นไปได้สูง โดยมีความแม่นยำในการจำแนกประเภทที่โดดเด่น การพัฒนาระบบแนะนำสาขาวิชาดิจิทัลสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จากการสำรวจความพึงพอใจของนักเรียนที่ทดลองใช้ระบบ พบว่ามีการตอบรับในทางที่ดี โดยนักเรียนส่วนใหญ่รู้สึกพึงพอใจกับระบบ ค่าเฉลี่ยของความพึงพอใจในด้านต่างๆ อยู่ระหว่าง 3.2 ถึง 4 โดยเฉพาะการช่วยแนะนำสาขาวิชาทางด้านดิจิทัลที่เหมาะสมกับตนเอง (ค่าเฉลี่ย 4) และการแนะนำให้ผู้อื่นนำระบบไปใช้งาน (ค่าเฉลี่ย 3.92) ผลการสำรวจแสดงให้เห็นว่าระบบมีศักยภาพในการนำไปใช้จริงในระบบการศึกษาเพื่อช่วยนักเรียนในการตัดสินใจเลือกสาขาวิชาได้อย่างมีประสิทธิภาพ | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
632132050 - รัชธิดา ภุมมะภูติ.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.