Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวิศ บุญมี-
dc.contributor.authorนพมาศ เขื่อนแก้วen_US
dc.date.accessioned2024-09-06T01:23:29Z-
dc.date.available2024-09-06T01:23:29Z-
dc.date.issued2024-07-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80029-
dc.description.abstractThis research focuses on the site selection of reverse vending recycling machines in Mueang Lampang district. The objective is to identify optimal locations by developing a mathematical model utilizing mixed-integer linear programming. The model aims to maximize waste coverage while minimizing the combined distances from community collection points to the recycling machines and from these machines to the recycling company. Data analysis and model processing were conducted using the LINGO program. which is a tool designed to solve problems and create mathematical models in linear. The study began by modeling the site selection problem through mixed-integer linear programming, followed by coding the proposed linear programming model. Initial testing was performed on a small-scale model to ensure functionality, which was then applied to 17 potential locations. The experimental results show that the optimal locations for the reverse vending machines, which maximize waste coverage and minimize the combined distance from the community to the machine and from the machine to the company, are five locations : Point 2 (Clock Tower Park Lampang), Point 4 (Nong Krating Park), Point 7 (Wat Tha Tok), Point 11 (Wat Ban Mak), and Point 12 (Wat Thung Jo Sridonchai). These locations collectively cover the largest amount of waste, totaling 35,150.00 kilograms, with the minimum total distance of 179.90 kilometers.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleรูปแบบกำหนดการเชิงเส้นจำนวนเต็มแบบผสมสำหรับการเลือกที่ตั้งเครื่องรีไซเคิลแบบย้อนกลับอัตโนมัติในอำเภอเมืองลำปางen_US
dc.title.alternativeMixed - integer linear programming model for site selection of reverse vending recycling machines in Mueang Lampang districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเครื่องรีไซเคิล-
thailis.controlvocab.thashการโปรแกรมเชิงเส้น-
thailis.controlvocab.thashการใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเลือกที่ตั้งเครื่องรีไซเคิลแบบย้อนกลับอัตโนมัติ ในอำเภอเมืองลำปาง มีวัตถุประสงค์เพื่อหาที่ตั้งที่เหมาะสม โดยการพัฒนาตัวแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ในรูปแบบกำหนดการเชิงเส้นจำนวนเต็มแบบผสม โดยมีเป้าหมายในการครอบคลุมปริมาณขยะที่มากที่สุด และมีระยะทางจากชุมชนไปยังจุดที่ตั้งเครื่องรวมกับระยะทางจากจุดที่ตั้งไปยังบริษัทที่น้อยที่สุด เป็นเกณฑ์ในการเลือกที่ตั้ง วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลตัวแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นด้วยโปรแกรม LINGO ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ออกแบบมาเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในรูปแบบเชิงเส้น (Linear) โดยเริ่มจากการสร้างแบบจำลองรูปแบบกำหนดการเชิงจำนวนเต็มแบบผสมสำหรับการแก้ปัญหาเลือกที่ตั้ง หลังจากนั้น ทำการเขียนโค๊ดตัวแบบโปรแกรมเชิงเส้นที่นำเสนอ ต่อมาทดสอบตัวแบบกับโมเดลขนาดเล็กก่อน เมื่อสามารถใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ นำมาใช้กับกรณีศึกษา การเลือกที่ตั้ง จำนวน 17 แห่ง ผลการทดลอง พบว่า ตำแหน่งที่ตั้งเครื่องรีไซเคิลแบบย้อนกลับอัตโนมัติที่ทำให้สามารถครอบคลุมปริมาณขยะได้มากที่สุด และมีระยะทางจากชุมชนไปยังจุดที่ตั้งเครื่องรวมกับระยะทางจากจุดที่ตั้งไปยังบริษัทที่น้อยที่สุด จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ จุดที่ 2 สวนสาธารณะห้าแยกหอนาฬิกา จุดที่ 4 สวนสาธาณะหนองกระทิง จุดที่ 7 วัดท่าโทก จุดที่ 11 วัดบ้านหมาก และจุดที่ 12 วัดทุ่งโจ้ศรีดอนไชย โดยสามารถครอบคลุมปริมาณขยะได้มากที่สุดเท่ากับ 35,150.00 กิโลกรัมและมีระยะทางน้อยที่สุด เท่ากับ 179.90 กิโลเมตรen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.