Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80026
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธารณ์ ทองงอก | - |
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.author | ณัฐวงศ์ วังแก้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-09-06T00:47:00Z | - |
dc.date.available | 2024-09-06T00:47:00Z | - |
dc.date.issued | 2024-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80026 | - |
dc.description.abstract | The objective of studying is to study the problems and suggestions of guidelines for academic administrations to promote active learning management of teachers in Bannoihuayrinvittaya School, Chiang Mai Province. 2) To study the academic management approach to promote proactive learning management of teachers in excellent educational institutions. 3) To prepare and review academic management approach of guidelines for academic administrations to promote active learning management of teachers in Bannoihuayrinvittaya School, Chiang Mai Province. The population in the study of problems and suggestions to guidelines for academic administrations to promote active learning management of teachers in Bannoihuayrinvittaya School, Chiang Mai Province, included school director , heads of academic teachers, and teachers at Bannoihuayrinvittaya, Chiang Mai Province. The instrument was conversation group. The population used in the study of academic administration guidelines to promote active learning management for teachers in excellent educational institutions were school director and head of academic teachers of Ban Phra Non School, Ban Don Pin School, and Ban Mae Ngon Khilek School. The instrument was the interview forms. And the verification of academic administration guidelines to promote active learning management of teachers at School, Bannoihuayrinvittaya, Chiang Mai Province. The population included deputy directors under the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 5 and educational supervisors under the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 5. The instrument was the correctness and the appropriateness of the guidelines form. The study results that 1) Problems and suggestions for academic administration to promote active learning management of teachers at, Bannoihuayrinvittaya,Chiang Mai Province, showed that there were 7 problems of the problems , such as 1) Lack of guidelines for creating a curriculum, creating a curriculum structure, and integrating subjects that focus on active learning management. 2) Teachers still lack diverse teaching methods. Most teaching and learning activities are still based on textbooks and do not emphasize analytical thinking processes for students. 3) Media and technology used in teaching are not yet responsive to active learning management. 4) Methods for creating and developing learning resources are still not systematic enough for students to use. 5) Administrators and supervising teachers still lack formats, techniques, and methods for supervision that focus on active learning management in order to use the data to reflect on the recipients of the supervision for improvement in the next time. 6) Teachers lack analysis of problems that occur in the classroom, such as what problems teachers have and planning actions to analyze the causes of the problems and methods to solve them. 7) Teachers lack design and creation of comprehensive and diverse learning assessment tools that focus on active learning management. 2) The results of the study on academic administration guidelines to promote active learning management of teachers in excellent educational institutions showed that each educational institutions used the PDCA academic administration approach by specifying responsible persons and clear procedures 3) The results of drafting the guidelines include principles, objectives, practices, and conditions for success. The results of the examination showed that the draft guidelines were correct and appropriate, passing all criteria. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for academic administrations to promote active learning management of teachers in Bannoihuayrinvittaya School, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ครู -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ครู -- การบริหาร | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้ | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูในสถานศึกษาที่เป็นเลิศ 3) เพื่อจัดทำและตรวจสอบแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าครูวิชาการ และครูผู้สอน โรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบบันทึกการสนทนา ประชากรที่ใช้ในศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู ในสถานศึกษาที่เป็นเลิศ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูวิชาการโรงเรียนบ้านพระนอน โรงเรียนบ้านดอนปิน และโรงเรียนบ้านแม่งอนขี้เหล็ก 5 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และการตรวจสอบแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรได้แก่ รองผู้อำนวยการสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 5 และศึกษานิเทศก์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่เขต 5 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมของแนวทาง ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโรงเรียนบ้านน้อยห้วยรินวิทยา จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า มีปัญหาทั้ง 7 ด้าน เช่น 1) ขาดการกำหนดแนวทาง เพื่อจัดทำหลักสูตร จัดทำโครงสร้างหลักสูตร การบูรณาการรายวิชาที่มุ่งการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 2) ครูยังขาดวิธีการสอนที่หลากหลาย กิจกรรมการเรียนการสอนส่วนใหญ่ยังเป็นการเรียนตามแบบหนังสือ และไม่ได้เน้นกระบวนคิดวิเคราะห์ให้แก่ผู้เรียน 3) สื่อและเทคโนโลยีที่ใช้ในการสอน ยังไม่ตอบสนองต่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 4) วิธีการดำเนินการสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ ยังขาดการเป็นระบบที่ใช้สำหรับผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม 5) ผู้บริหารและครูผู้นิเทศยังขาดรูปแบบ เทคนิค วิธีการในการนิเทศที่มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อที่จะนำผลข้อมูลไปสะท้อนผลแก่ผู้รับการนิเทศในการปรับปรุงครั้งต่อไป 6) ครูขาดการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนว่า ครูสอนมีปัญหาอะไรเกิดขึ้นบ้างและวางแผนการดำเนินการเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหานั้น และ 7)ครูขาดการออกแบบและสร้างเครื่องมือวัดประเมินผลการเรียนที่ครอบคลุมและหลากหลายที่มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้เชิงรุก 2) ผลการศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครู ในสถานศึกษาที่เป็นเลิศ พบว่า สถานศึกษาแต่ละแห่ง ใช้แนวทางการบริหารงานวิชาการแบบ PDCA โดยมีการกำหนด ผู้รับผิดชอบและวิธีปฏิบัติที่ชัดเจน 3) ผลการร่างแนวทางประกอบด้วย ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ แนวปฏิบัติ และเงื่อนไขความสำเร็จ ผลการตรวจสอบพบว่า แนวทางที่ร่างมีความถูกต้องและเหมาะสม ผ่านเกณฑ์ทุกประเด็น | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232062 ณัฐวงศ์ วังแก้ว.pdf | 9.54 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.