Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79999
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เดชา ทำดี | - |
dc.contributor.advisor | วิลาวัณย์ เตือนราษฎร์ | - |
dc.contributor.author | สุมาลี เปรมมิตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-08-28T01:09:50Z | - |
dc.date.available | 2024-08-28T01:09:50Z | - |
dc.date.issued | 2024-06-20 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79999 | - |
dc.description.abstract | Reducing high-sodium consumption can help control complications of high blood pressure. This quasi-experimental two-group pretest-posttest design aimed to compare the scores for sodium reduction practice among uncontrolled hypertensive persons in a community, before and after receiving a self-efficacy enhancing program, and between an intervention group and a group receiving usual nursing care. The 60 participants were selected by simple random sampling without replacement. These participants were assigned to a group receiving the self-efficacy enhancing program group (n = 30) and a group receiving usual nursing care (n = 30).The research tools included a self-efficacy enhancing program. Data collection tools include a demographic data questionnaire and a questionnaire on practices to reduce high-sodium consumption among uncontrolled hypertensive persons in a community, which was verified for content accuracy by six experts with a content validity index of .96 and a reliability of .71. The data were analyzed using descriptive statistics, pair t–test and independent t–test statistics. The results showed that after receiving the program, the intervention group had higher scores for reducing high-sodium consumption practices than before participating in the program and higher than the group receiving usual nursing care, with statistical significance (p < .001). The results of this research can be used as a guideline to promote behavior to reduce high-sodium consumption. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถแห่งตน | en_US |
dc.subject | การปฏิบัติการลดการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูง | en_US |
dc.subject | ผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชน | en_US |
dc.subject | ความดันโลหิตสูง | en_US |
dc.subject | การบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูง | en_US |
dc.subject | Effect of the Self-Efficacy Enhancing Programs | en_US |
dc.subject | Practices in Reducing High-sodium Consumption | en_US |
dc.subject | Persons with Uncontrolled Hypertension in Communities | en_US |
dc.subject | Hypertension | en_US |
dc.subject | High-sodium Consumption | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมส่งเสริมความสามารถแห่งตนต่อการปฏิบัติการลดการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชน | en_US |
dc.title.alternative | Effect of the self-efficacy enhancing programs on practices in reducing high-sodium consumption among persons with uncontrolled Hypertension in communities | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ความดันเลือดสูง | - |
thailis.controlvocab.thash | ความสามารถในตนเอง | - |
thailis.controlvocab.thash | ความดันเลือดสูง -- การควบคุม | - |
thailis.controlvocab.thash | ความดันเลือดสูง -- แง่กายเหตุจิต | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การลดการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงจะสามารถช่วยควบคุมภาวะแทรกซ้อนของความดันโลหิตสูงได้ การวิจัยแบบกึ่งทดลองแบบ 2 กลุ่มวัดก่อน-หลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการปฏิบัติการลดการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชนก่อนและหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความสามารถแห่งตนและระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯและกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ และกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมความสามารถแห่งตนฯ และเครื่องมือรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป และแบบสอบถามการปฏิบัติการลด การบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงที่ควบคุมไม่ได้ในชุมชน เครื่องมือที่ใช้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่าน ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ .96 และได้ค่าความ เชื่อมั่นเท่ากับ .71 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติ pair t–test และ independent t–test ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯผลการวิจัยพบว่า ภายหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมความสามารถแห่งตน กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีคะแนนมีคะแนนการ ปฏิบัติการลดการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมฯ และสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำใช้เป็นแนวทางในการส่งเสริมพฤติกรรมการลดการบริโภคอาหารที่มีโซเดียมสูงได้ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
641231135-สุมาลี เปรมมิตร์-watermark.pdf | 2.81 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.