Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79923
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคมกฤต เล็กสกุล-
dc.contributor.authorประกาศิษย์ แทนวันชัยen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T15:51:51Z-
dc.date.available2024-07-28T15:51:51Z-
dc.date.issued2567-06-13-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79923-
dc.description.abstractThis research aims to study Plant Layout Design for Good Manufacturing Practice in Kumquats Beverage Factory, Happy Beverage Company Limited, which originally produces drinking water and aims to expand its production to include bottled kumquats juice. Therefore, the research was conducted to design a production line of bottled kumquats juice using a Systematic Layout Planning method (SLP) and a Good Manufacturing Practice method (GMP) to increase the efficiency of the production. The practical steps of laying out a factory for the food industry started with the analysis of the flow of the kumquats juice production process and the existing drinking water production process. Hence, a Flow Process Chart and a Multi-product process Chart were employed to analyze the relationship between the drinking water production process and that of the kumquats juice in order to find the relevant activities and relationships of both production items. The analyzed relationship was then used to create a relationship diagram on the two production diagrams to determine the space and machines required to manufacture. The results were measured according to the distance of the production process. It was found that the second Plant Layout, had a production distance of 58.25 meters, which was 2.75 meters shorter than the first Plant Layout and it can save on machine costs 350,000 BTH. Having attained the result, the second Plant Layout was evaluated using the food production site evaluation form, designed under standard requirements that comply with the GMP standard of The Ministry of Public Health. The three assessors, who gave the assessment results in the second Plant Layout, indicating that the second Plant Layout passed the assessment in all requirements according to GMP standards. Therefore, the factory can potentially make use of the results to create a production line and request permission from the public health office of Ranong Province to use a place to produce food.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectส้มจี๊ดen_US
dc.titleการออกแบบผังโรงงานสำหรับวิธีการที่ดีในโรงงานผลิตเครื่องดื่มน้ำส้มจี๊ดen_US
dc.title.alternativePlant layout design for good manufacturing practice in kumquats beverage factoryen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashบริษัท แฮปปี้เบเวอเรจ-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม -- มาตรฐานการผลิต-
thailis.controlvocab.thashมาตรฐานการผลิต-
thailis.controlvocab.thashการวางผังโรงงาน-
thailis.controlvocab.thashโรงงาน -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมกระบวนการผลิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยฉบับนี้ศึกษาการออกแบบและวางผังโรงงานสำหรับวิธีการที่ดีในโรงงานผลิตเครื่องดื่มน้ำส้มจี๊ดของบริษัท แฮปปี้เบเวอเรจ ซึ่งเดิมทำการผลิตน้ำดื่ม และ ต้องการเพิ่มไลน์การผลิตน้ำส้มจี๊ดบรรจุขวด จึงทำการวิจัยการออกแบบแผนผังไลน์การผลิตเครื่องดื่มน้ำส้มจี๊ด โดยใช้ หลักการวางผังโรงงานอย่างเป็นระบบ (Systematic Layout Planning: SLP) รวมกับการใช้ มาตรฐานGMP : Good Manufacturing Practice เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากขึ้นโดยขั้นตอนเชิงปฏิบัติการวางผังโรงงานสำหรับอุตสาหกรรมอาหารเริ่มจากการวิเคราะห์การไหลของการผลิตน้ำส้มจี๊ดและการผลิตน้ำดื่มเดิมที่มีอยู่ โดยใช้ Flow Process Chart และ แผนภูมิกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์หลายชนิด (Muti Product Process Chart) มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์กระบวนการผลิต น้ำดื่ม และ การวิเคราะห์ความสมบูรณ์ของกระบวนการผลิตน้ำส้มจี๊ด และหาคู่กิจกรรมและความสัมพันธ์ทั้ง 2 ไลน์การผลิต จากนั้นนำความสัมพันธ์ที่ได้มาจัดทำแผนภาพความสัมพันธ์บนแผนผังโรงงานทั้ง 2 ไลน์การผลิตเพื่อกำหนดขนาดห้องและเครื่องจักรที่ต้องใช้ ทำให้สามารถออกแบบแผนผังโรงงานได้ 2 ผัง จากนั้นทำการวัดผลตามระยะทางของกระบวนการผลิต พบว่าผังที่ 2 มีระยะทางในการผลิต 58.25 เมตร ซึ่งสั้นกว่าแบบที่ 1 2.75 เมตรและสามารถประหยัดต้นทุนการซื้อเครื่องจักรเป็นเงิน 350,000 บาท จากนั้นนำผังที่ 2 ไปทำการประเมินผลด้วยแบบฟอร์มการประเมินผลสถานที่ผลิตอาหารโดยออกแบบมาภายใต้ข้อกำหนดมาตรฐานที่สอดคล้องกับมาตรฐาน GMP ของกระทรวงสาธารณสุข โดยผู้ประเมิน 3 ราย มีผลการประเมินผังที่ 2 ผ่านการประเมินในทุกข้อกำหนดตามมาตรฐาน GMP 420 จากผลที่ได้ทำให้ทางโรงงานสามารถนำผังโรงงานดังกล่าวไปใช้ในการสร้างไลน์ผลิตและขออนุญาตใช้สถานที่ผลิตอาหารจาก หน่วยงานสาธารณสุขประจำจังหวัดระนองต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632026_ประกาศิษย์ แทนวันชัย.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.