Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79922
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.advisorธารณ์ ทองงอก-
dc.contributor.authorศักดิ์ชัย พละทรัพย์en_US
dc.date.accessioned2024-07-28T15:48:31Z-
dc.date.available2024-07-28T15:48:31Z-
dc.date.issued2567-05-25-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79922-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) studied the current situation, desirable conditions, and demand to promoting innovative learning management for teachers in schools attached to local administrative organization, Chiang Mai province. 2) studied guidelines for promoting innovative learning management for teachers in schools attached to local administrative organization 3) created and quality checked guidelines for promoting innovative learning management for teachers in schools attached to local administrative organization. The research method is divided into 3 steps. The samples consisted of two lecturers, a supervisor, forty-one administrators, forty-one teachers or person in charge about learning at amount as 85 people. The research instruments were questionnaires, semi-structured interviews and guideline checks. The data analysis was frequency, means, S.D., arrange and analyze content by summarized induction. The research results were as follows. 1. The current situation for promoting innovative learning management for teachers in schools attached to local administrative organization, Chiang Mai province is generally at a high level. The desirable conditions to promoting innovative learning management for teachers in schools attached to local administrative organization, Chiang Mai province is at the highest level, and the most critical need for promoting innovation in learning management for teachers in schools attached to local administrative organization, Chiang Mai is found to be rewarding innovators in learning management. 2. The study on promoting innovation in learning management for teachers in schools attached to local administrative organization, Chiang Mai province, focusing on schools demonstrating good practices, reveals that there is an analysis of the school context and proactive strategic planning. Furthermore, there are training programs aimed at developing teachers' skills, opportunities for knowledge exchange, and recognition through awards for innovators in learning management who meet established criteria. 3. The development of guidelines for promoting innovation in learning management for teachers in schools attached to local administrative organization, Chiang Mai province consists of three components: 1) Objectives, 2) Implementation methods, and 3) Success criteria. The validation process indicates that overall, these guidelines exhibit the highest level of accuracy, suitability, and feasibility, meeting the predefined criteria across all dimensions.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแนวทางการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้en_US
dc.subjectโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นen_US
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for promoting innovative learning management for teachers in schools attached to Local Administrative Organization, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashครู-
thailis.controlvocab.thashการเรียนรู้-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และ ความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ 2) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ ของสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี และ 3) จัดทำและตรวจสอบ แนวทางการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ขั้นตอน กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย อาจารย์ระดับอุดมศึกษา จำนวน 2 คน ศึกษานิเทศก์ จำนวน 1 คน ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 41 คน และครูผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ จำนวน 41 รวมทั้งสิ้น 85 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบตรวจสอบแนวทางฯ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความถี่ เรียงลำดับ และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ ของการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และความต้องการจำเป็นของการส่งเสริม การสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ให้รางวัลผู้สร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครู มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด 2. ผลการศึกษาการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ ของสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี พบว่า มีการวิเคราะห์สภาพบริบทของสถานศึกษาและกำหนดกลยุทธ์เชิงรุก มีการอบรมพัฒนาทักษะให้กับครู มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้รางวัลกับผู้สร้างนวัตกรรมกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ปฏิบัติผ่านเกณฑ์ ที่กำหนด 3. การจัดทำแนวทางการส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้สำหรับครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1) วัตถุประสงค์ 2) วิธีดำเนินการ และ 3) เงื่อนไขความสำเร็จ มีผลการตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และผ่านเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ทุกด้านen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232088-ศักดิ์ชัย พละทรัพย์.pdf6.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.