Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorสุชาครีย์ ใจการณ์en_US
dc.date.accessioned2024-07-28T08:56:47Z-
dc.date.available2024-07-28T08:56:47Z-
dc.date.issued2567-06-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79905-
dc.description.abstractThis study examines Guidelines for Collaborative Development to Solve Economic Problem of the Public-Private Joint Committee, Phayao Province. The objective is to examine the role and forms of cooperation within the Phayao Provincial Administrative Organization Committee at each stage of the Phayao Provincial Economic Policy and to suggest guidelines for enhancing this cooperation. Utilizing a qualitative research method, data were collected from relevant documents and through semi-structured interviews. The study found that the private sector influences the policy agenda by raising issues during meetings of the Public-Private Joint Committee of Phayao Province. This committee jointly decides on solutions to these problems, considering various options and enabling relevant government agencies to implement the agreed-upon guidelines. Monitoring and evaluation involve the private sector setting the agenda, allowing agencies to report progress. In the government sector, this process involves directives from supervisors, with relevant agencies reporting to meetings and recommending further guidelines. The committee's cooperation model within the Provincial Administrative Department includes various forms of collaboration at each policy step, often involving coordination among multiple agencies working together under the same process. Responsibilities are divided to enable effective collaboration within defined scopes of duty. Developing cooperation between the public and private sectors requires strengthening both formal and informal relationships, which positively impacts the province's economic policy. Emphasizing the private sector's involvement in various activities is crucial. Additionally, leadership is key in fostering cooperation, guiding all parties to recognize its importance, and mediating negotiations to find joint resolutions within the Public-Private Joint Committee of Phayao Province.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนen_US
dc.subjectความร่วมมือen_US
dc.subjectนโยบายสาธารณะen_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ ของคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนจังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativeGuidelines for collaborative development to solve economic problem of the public-private joint committee, Phayao Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาเศรษฐกิจ -- พะเยา-
thailis.controlvocab.thashพะเยา -- ภาวะเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashความร่วมมือทางเศรษฐกิจ-
thailis.controlvocab.thashนโยบายสาธารณะ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง แนวทางการพัฒนาความร่วมมือเพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจของคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนจังหวัดพะเยา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทและรูปแบบ ความร่วมมือของ คณะกรรมการ กรอ.จังหวัดพะเยาในแต่ละขั้นตอนนโยบายเศรษฐกิจจังหวัดพะเยา และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาความร่วมมือในการทำงานของคณะกรรมการ กรอ.จังหวัดพะเยา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และใช้การสัมภาษณ์ แบบกึ่งมีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ภาคเอกชนมีบทบาทในการเป็นผู้สร้างวาระนโยบาย ผลักดันประเด็นปัญหา ให้เข้าสู่วาระนโยบายในการประชุมคณะกรรมการ กรอ.จังหวัด โดยให้คณะกรรมการ กรอ.จังหวัดมีบทบาทในการร่วมตัดสินใจกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา ร่วมกันพิจารณาตัดสินใจเลือกทางเลือก และให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องนำแนวทางดังกล่าวไปปฏิบัติ ขณะที่การติดตามประเมินผล จะเป็นลักษณะการกำหนดวาระของภาคเอกชนเพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รายงานความคืบหน้า ขณะที่ภาครัฐจะเป็นในลักษณะของข้อสั่งการจากผู้บังคับบัญชาโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะรายงานให้ที่ประชุมได้รับทราบและร่วมกันเสนอแนะแนวทางต่อไป ในส่วนของรูปแบบความร่วมมือของคณะกรรมการ กรอ.จังหวัด ในแต่ละขั้นตอนนโยบายมีรูปแบบความร่วมมือที่หลากหลาย โดยในแต่ละขั้นตอนส่วนมาก จะมีรูปแบบความร่วมมือแบบการประสานความร่วมมือ (Co - operation) ที่มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมากกว่า 2 หน่วยงานขึ้นไปร่วมมือกันปฏิบัติงานภายใต้กระบวนการเดียวกัน และมีการแบ่งขอบเขตหน้าที่ ความรับผิดชอบระหว่างกัน การพัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนต้องเสริมสร้างความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการซึ่งจะส่งผลดีต่อการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจของจังหวัด ด้วยการให้ความสำคัญกับภาคเอกชนในการทำกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งต้องอาศัยบทบาทของผู้นำ การสร้างความร่วมมือในการชี้นำให้ทุกฝ่ายตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความร่วมมือ และเป็นตัวกลางในการเจรจาหามติร่วมกันในคณะกรรมการ กรอ.จังหวัดen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932040 - สุชาครีย์ ใจการณ์.pdf15.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.