Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79902
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑามาส คุ้มชัย-
dc.contributor.advisorต่อนภา ผุสดี-
dc.contributor.authorราชันย์ แสงงามen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T08:44:06Z-
dc.date.available2024-07-28T08:44:06Z-
dc.date.issued2567-05-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79902-
dc.description.abstractChili is one of the world's most economically and agriculturally important vegetables in terms of cultivation area, production, commercial value, and consumption. They were classified into the genus Capsicum which is a highly diverse genus. Thirty eight species are currently recognized, 5 of which are domesticated: C. annuum L., C. chinense Jacquin, C. frutescens L., C. baccatum L. and C. pubescens Ruiz & Pavon. C. annuum produces solitary flowers, while C. chinense produces multiple flowers per node. C. frutescens shows 2 flowers per node. Interspecific hybridization is the only way to transfer genes that control multiple flowers and their transfer from C. chinense to C. annuum and C. frutescens to increase fruit yield. Forty four varieties of chilies were grown for selection. Ten varieties were selected. They were classified into 3 species; C. annuum, C. chinense and C. frutescens. It was demonstrated that viability and germination of pollen of all varieties were viable and there was no differences among the varieties. However, % seed germination was significantly different. Bhut Jolokai showed the lowest% and CA1449-6-19, F-3-8 and M1116 showed the highst % seed germination. However, M1116 showed the lowest% of fruit setting and F-3-8 and Bhut Jolokai showed the highst %. Interspecific hybridization and backcrossing was observed among C. annuum, C. chinense and C. frutescens. Chili plant height, bush width, fruit width, fruit length, and average fruit of all 10 varieties significantly different. Among the F1 hybrids, CA1449-6-10-1 × 35-5-3-1 demonstrated the highest fruit width which was significantly different from other F1 hybrids, BC1F1, BC2F1 and most of the parents. Among the F1 hybrids, PJ07-1 × Bhut Jolokai-1 demonstrated the highest fruit length which was significantly differently longer than other F1 hybrids, BC2F1 the parents and most of BC1F1. Among the F1 hybrids, M1116-2 × PJ07-1 demonstrated the highest average fruit weight which was significantly differently higher than most of BC1F1, BC2F1, the parents. However, the average fruit weight was significantly different higher and lower than other F1 hybrids and the parents. Interspecific hybridization between C. annuum × C. chinense did not increase fruit weight per plant of C. annuum. However, the hybridization between C. chinense × C. frutescens increased fruit weight per plant of variety JD01-2. The hybrid 35-5-3-1 × Bhut Jolokai-3 and 35-5-3-2 × Bhutjolokai-1 increased fruit weight per plant of 35-5-3-1, eventhough, the fruit size was decreased. Interspecific hybridization between C. frutescens (35-5-3-1) with many varieties of C. annuum. It increased fruit weight per plant, higher than the parents and decreased average fruit weight lower than the parents. Good potential hybrids were 35-5-3-1 × F-3-8-2, 35-5-3-1 × PJ07-2, 35-5-3-1 × PJ05-2, 35-5-3-3 × J-10-3-2 and 35-5-3-2 × CA1449-6-10-2. 35-5-3-1 was the best parent among the group. Molecular marker technique, start codon targeted (SCoT), was used to observe the bandings of PJ07-1 × Bhut Jolokai-2 and its parents. The bandings of both parents and extra one were demonstrated in the agarose gel electrophoresis of PJ07-1 × Bhut Jolokai-2.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectAgricultureen_US
dc.subjectBreedingen_US
dc.subjectPlant breedingen_US
dc.subjectHorticultureen_US
dc.subjectวิธีการผสมกลับen_US
dc.titleการผสมข้ามชนิดและการถ่ายทอดลักษณะด้วยวิธีการผสมกลับในพริกen_US
dc.title.alternativeInterspecific hybridization and inheritance by backcross method in chiliesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพริก -- การปลูก-
thailis.controlvocab.thashพริก -- พันธุ์-
thailis.controlvocab.thashพริก -- การปรับปรุงพันธุ์-
thailis.controlvocab.thashการปรับปรุงพันธุ์พืช-
thailis.controlvocab.thashพันธุ์ผสม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractพริกเป็นพืชผักที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ จัดอยู่ในสกุล Capsicum spp. ใน 38 ชนิดของสกุลนี้มีพริกเพียง 5 ชนิดที่เป็นพันธุ์ปลูก ได้แก่ Capsicum annuum L., Capsicum chinense Jacquin, Capsicum frutescens L., Capsicum baccatum L. และ Capsicum pubescens Ruiz & Pavon โดย C. annuum มีจำนวนดอก 1 ดอกต่อข้อ C. frutescens มีจำนวนดอก 1-2 ดอกต่อข้อ และ C. chinense มีจำนวนดอก 1-5 ดอกต่อข้อ การผสมข้ามชนิดเป็นวิธีการเดียวที่จะถ่ายยีนที่ควบคุมจำนวนดอกต่อข้อของ C. chinense ไปยังพริกชนิดอื่นเพื่อเพิ่มผลผลิต จากการทดลองปลูกพริกจำนวน 44 พันธุ์ และคัดเลือกได้ 10 พันธุ์ จัดจำแนกชนิดได้ 3 ชนิด ได้แก่ Capsicum annuum Capsicum frutescens และ Capsicum chinense พบว่าความมีชีวิตของละอองเรณูของพริก 10 พันธุ์ มีชีวิต และการงอกของหลอดละอองเรณูสมบูรณ์ไม่มีความแตกต่างระหว่างพันธุ์ ส่วนการงอกของเมล็ดพันธุ์บุตโจโลเกียมีค่าต่ำที่สุดที่ 8 % และพันธุ์ซีเอ1449-6-19 เอฟ-3-8 และเอ็ม1116 มีความงอกสูงที่สุด 100 % พันธุ์เอ็ม1116 มีการติดผลต่ำที่สุดที่ 16.7 % ส่วนพันธุ์เอฟ-3-8 และพันธุ์บุตโจโลเกีย ติดผลสูงที่สุด 100 % เมื่อผสมข้ามระหว่าง C. frutescens × C. annuum C. frutescens × C. chinense และ C. annuum × C. chinense พบว่าการผสมกลับติดผลทุกคู่ผสม โดยพันธุ์ที่ทดสอบทั้งหมดมีความสูงของต้น ความกว้างทรงพุ่ม ความกว้างของผล ความยาวของผล และน้ำหนักผลเฉลี่ยแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในกลุ่ม F1 พันธุ์ซีเอ1449-6-10-1 × 35-5-3-1 มีความกว้างของผลที่สูงที่สุด ซึ่งกว้างกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับ ลูกผสมพริกชั่วที่ 1 ( F1 ) อื่นๆ พ่อแม่พันธุ์เกือบทั้งหมดของลูกผสมชั่วที่ 1 (BC1F1) และลูกผสมกลับครั้งที่ 2 (BC2F1) ทั้งหมดในกลุ่ม F1 พันธุ์พีเจ07-1 × บุตโจโลเกีย-1 มีความ ยาวของผลที่สูงที่สุด ซึ่งยาวกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ F1 อื่นๆ พ่อแม่พันธุ์เกือบทั้งหมด และ BC2F1 ทั้งหมด ในกลุ่ม F1 พันธุ์เอ็ม1116-2 × พีเจ07-1 มีน้ำหนักผลเฉลี่ยที่สูงที่สุด ซึ่งสูงกว่าและแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ กับ พันธุ์ BC1F1 และ BC2F1 เกือบทั้งหมดแต่สูงกว่าและต่ำกว่า F1 และพ่อแม่พันธุ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การผสมระหว่าง C. annuum × C. chinense ไม่เพิ่มน้ำหนักผลต่อต้น และน้ำหนักผลเฉลี่ยของ C. annuum การผสม ระหว่าง C. chinense × C. frutescens เพิ่มน้ำหนักผลต่อต้นของพันธุ์เจดี01-2 การผสม ระหว่าง คู่ผสม 35-5-3-1 x บุตโจโลเกีย-3 และคู่ผสม 35-5-3-2 × บุตโจโลเกีย-1 เพิ่มน้ำหนักผลต่อต้นของ พันธุ์35-5-3-1 ถึงแม้การผสมข้ามทำให้ขนาดผลเล็กลง เมื่อพริก C. frutescens พันธุ์35-5-3-1 ผสมพันธุ์ กับ C. annuum หลายพันธุ์ให้ลูกผสมพริกชั่วที่ 1 ที่ให้น้ำหนักผลต่อต้นที่สูงกว่าพ่อและแม่ แต่น้ำหนักผลเฉลี่ยน้อยกว่าพ่อและแม่ ลูกผสมพริกชั่วที่ 1 ที่ดี ได้แก่ คู่ผสม 35-5-3-1 × เอฟ-3-8-2 คู่ผสม 35-5-3-1 × พีเจ07-2 คู่ผสม 35-5-3-1 × พีเจ05-2 คู่ผสม 35-5-3-3 × เจ-10-3-2 และคู่ผสม 35-5-3-2 × ซีเอ1449-6-10-2 พริก C. frutescens พันธุ์ 35-5-3-1 เป็นพันธุ์ที่ดีที่สุดในกลุ่มที่ควรใช้ในการผสมพันธุ์กับพริก C. annuum การผสมกลับครั้งที่ 1 ระหว่าง C. annuum × C. chinense ผสมกลับกับ C. annuum พบว่าการผสมกลับเพิ่มน้ำหนักผลต่อต้นของลูกผสมกลับสูงกว่าพ่อแม่ การผสมกลับครั้งที่ 2 ระหว่าง C. annuum × C. frutescens พบว่าการผสมกลับทำให้น้ำหนักผลต่อต้นและน้ำหนักผลเฉลี่ยของลูกผสมกลับ น้อยกว่าพ่อแม่ เมื่อใช้เครื่องหมายโมเลกุลการตรวจสอบพบว่าคู่ผสม พีเจ07-1 × บุตโจโลเกีย-2 มีลักษณะแถบดีเอ็นเอเหมือนของพ่อแม่พันธุ์en_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620831010-ราชันย์ แสงงาม.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.