Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลงกรณ์ คูตระกูล-
dc.contributor.authorกฤตภาส โพธิ์แก้ว-
dc.date.accessioned2024-07-28T08:11:51Z-
dc.date.available2024-07-28T08:11:51Z-
dc.date.issued2567-04-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79900-
dc.description.abstractA Data-Driven Organization (DDO) drives its operations by setting policies for data management, emphasizing the importance of personal data protection, defining the roles and responsibilities of those involved in data usage, and ensuring data is managed to be readily available. This approach enables the organization to incorporate data as part of the decision-making process for planning activities and projects. This independent study aimed to investigate 1) The current level of being a data-driven organization of Technical Promotion and Support Office 9 2) The future level of being a data-driven organization of Technical Promotion and Support Office 9 3) The strategies for developing Technical Promotion and Support Office 9 into a higher-level data-driven organization. A qualitative research paradigm was adopted for this investigation. Key informants included chief information officer (CIO), head of department, director, and staff, the in-depth interview with a semi-structured format. Thematic content analysis was applied for data interpretation. Findings revealed that 1) The current level of being a data-driven organization of Technical Promotion and Support Office 9 is at the initial stage. 2) The future level of being a data-driven organization of Technical Promotion and Support Office 9 is expected to have ready to use infrastructure, clear policies and practices, personnel with digital knowledge and skills aligned with IT usage. 3) The strategies for developing include (1) developing infrastructure to support digital usage, (2) developing work processes with clear practices, (3) developing personnel with the necessary knowledge and skills for work. The recommendations from this research are 1) Infrastructure, it is suggested to coordinate with central agencies to obtain support for high-performance computer equipment and necessary software for work. 2) Work processes, it is recommended to collaborate with IT experts from university or relevant agencies to serve as consultants in improving digital work processes suitable for the organization’s mission. 3) Personnel development, it is important to foster a digital mindset among staff, raising awareness and acceptance of modern technology use, and to organize training to enhance the capabilities of personnel, equipping them with the knowledge and skills to use information technology effectively.en_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleกลยุทธ์การพัฒนาองค์การไปสู่การเป็นองค์การที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์en_US
dc.title.alternativeStrategies for Developing Organization Toward Data Driven Organization of Technical Promotion and Support Office 9, Ministry of Social Development and Human Securityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาองค์การ-
thailis.controlvocab.thashการจัดองค์การ-
thailis.controlvocab.thashประสิทธิผลองค์การ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractองค์การที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล (Data-Driven Organization : DDO) เป็นการขับเคลื่อนองค์การโดยมีการกำหนดนโยบายในการบริหารจัดการข้อมูล การให้ความสำคัญกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล การกำหนดบทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูล การบริหารข้อมูลให้มีความพร้อมต่อการใช้งาน อันจะส่งผลทำให้องค์การสามารถนำข้อมูลมาเป็นส่วนหนึ่งในการตัดสินใจในวางแผนจัดกิจกรรม/โครงการ การค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการเป็นองค์การขับเคลื่อนด้วยข้อมูลในปัจจุบันของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชการ 9 2) เพื่อศึกษาระดับการเป็นองค์การขับเคลื่อนด้วยข้อมูลในอนาคตของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชการ 9 3) เพื่อศึกษากลยุทธ์การพัฒนาสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชการ 9 ไปสู่การเป็นองค์การที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลในระดับที่สูงขึ้น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารสารสนเทศระดับสูง ผู้บริหารหน่วยงาน หัวหน้ากลุ่มงาน และผู้ปฏิบัติงาน เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาแบบสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการศึกษา พบว่า 1) ปัจจุบันระดับการเป็นองค์การที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูลของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 อยู่ในระดับเริ่มต้น 2) ในอนาคต ต้องมีโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลที่พร้อมใช้งาน มีแนวนโยบายและแนวปฏิบัติที่ชัดเจน มีบุคลากรที่มีองค์ความรู้และทักษะด้านดิจิทัล 3) แนวทางการพัฒนา ได้แก่ (1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้รองรับกับการใช้งาน (2) พัฒนากระบวนการทำงานให้มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน (3) พัฒนาบุคลากรให้มีองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็น ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ควรประสานหน่วยงานส่วนกลางเพื่อขอรับการสนับสนุนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่จำเป็นสำหรับการทำงาน 2) ด้านกระบวนการทำงาน ควรประสานผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจากสถาบันการศึกษาในพื้นที่หรือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เป็นที่ปรึกษาในการปรับปรุงพัฒนากระบวนการทำงานด้านดิจิทัลให้เหมาะสมกับภารกิจของ 3) ด้านบุคลากร ควรเสริมสร้างทัศนคติของบุคลากรด้านดิจิทัลให้มีความตระหนักและยอมรับการใช้งานเทคโนโลยีสมัยใหม่ และจัดฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีองค์ความรู้และทักษะการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไปen_US
dc.subject.keywordองค์การที่ขับเคลื่อนด้วยข้อมูล-
dc.subject.keywordทักษะดิจิทัล-
dc.subject.keywordเทคโนโลยีสารสนเทศ-
dc.subject.keywordวิเคราะห์ข้อมูล-
dc.subject.keywordจัดการข้อมูล-
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932011_กฤตภาส โพธิ์แก้ว.pdf3.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.