Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79895
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพล ตันตระกูลทรัพย์-
dc.contributor.authorปริญญ์ อาศิรพงษ์พรen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T07:38:56Z-
dc.date.available2024-07-28T07:38:56Z-
dc.date.issued2567-05-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79895-
dc.description.abstractThis study aims to study the economic control of the Toong U court over the Lanna kingdom. A case study of tribute and tax collection during the period 1558 -1752, talking about the era of the early Toungoo dynasty, which expanded its territory into the Lanna kingdom. Especially the city of Chiang Mai as the center of the Lanna Kingdom. The researcher has explained and analyzed the tribute collection system. Reflects the traditional government structure. Political and economic problems according to the concept of Emperor Raja and the concept of Madala state, which influenced changes during the Toungoo Dynasty, the Restoration Era (Nyongyan), which had administrative and economic structures consistent with the concept of the nation state. (the nation state) in some respects The study found that the system of collecting tribute and taxes of the early Toungoo dynasty towards the Lanna Kingdom, the leader of the royal nation during the reign of King Bayinnaung, collected tribute and taxes in order to show his royal status as a royal emperor, who paid tribute and taxes. The apparent taxation of this world's connectivity with the rich worlds held together by distant habitations of millions of kingdoms drives the formal state's difficulty in regulating the organization of business. and the economy continuously It was used to hold on to the principles of Mangaraya, as in advance of the relationship of The Toungoo court being the only patronage that had to lead its existence without strict control precisely in the reign of King Bayinnaung at the end of the period. The external reign was directly underground in Chiang Mai, thus expanding the provinces of Chiang Mai and Lanna as much as possible with the Hongsawadee capital, singers by "Ba Yeng" singers, most of the demand for their own sons. The relationship between Chiang Mai for the first time was effective, Lanna and the capital Hongsawadee remained unchanged when they first invaded Chiang Mai in 1558. At the same time, during the reign of King Pye of the Restored Taungoo Dynasty, who faced security problems in the reign of power of the monarch that had been accumulated since the end of the early Taungoo Dynasty and the beginning of The Restored Taungoo Dynasty (Nyongyan).There was a change in the system of collecting tribute and taxes that came out in a new form of government using the mechanism of central power of the nobles and the power lever system within the Toong U court restored (Nyong Yan) using the knowledge from the beginning. The Toungoo dynasty was revived and developed further until during the reign of King Sanae Min where there was a change of government again. But the traditional rules for collecting tribute and taxes are still used. There was a general appointed by the King to act as governor of Chiang Mai, with a term of every 3 years. Other cities in the Lanna Kingdom still adhered to the same rules from the time of King Bayinnaung. Political and economic problems caused the change of government during The Restored Taungoo Dynasty(Nyongyan). both times, and these problems in turn resulted in the emergence of rebellions in Lanna, which these rebellions were related to Buddhism. Including affecting the collapse of the Restored Taungoo Dynasty (Nyonyan ) as well. In addition, the system of collecting tribute and taxes Including knowledge during the restoration of the Toungoo Dynasty (Nyongyan). The study found that the system for collecting tribute and taxes Can reflect the image of continuous evolution as well as knowledge related to the power mechanisms that link the real world with the ideal world together lessons learned from external and internal problems at the end of the Toungoo Dynasty and early period. The restoration of the Toungoo court (Nyongyan) required the development of a political system within the kingdom. So that the royal jurisdiction of the King has absolute power throughout the entire kingdom. It is like correcting defects from problems within the perimeter of the early Toungoo Kingdom.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการควบคุมเศรษฐกิจen_US
dc.subjectราชสำนักตองอูen_US
dc.subjectอาณาจักรล้านนาen_US
dc.subjectส่วยและภาษีen_US
dc.subjectEconomic controlen_US
dc.subjectToungoo courten_US
dc.subjectLanna kingdomen_US
dc.subjectTribute and taxesen_US
dc.subjectReformationen_US
dc.titleการควบคุมเศรษฐกิจของราชสำนักตองอูต่ออาณาจักรล้านนา กรณีศึกษาการเก็บส่วยและภาษี ค.ศ. 1558 -1752en_US
dc.title.alternativeEconomic control of the Toungoo Royal Court against the Lanna Kingdom: case study of tribute and tax collection A.D. 1558-1752en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashภาษี-
thailis.controlvocab.thashการจัดเก็บภาษี-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ประวัติศาสตร์ -- ล้านนา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานศึกษาฉบับนี้มีจุดประสงค์ศึกษาการควบคุมเศรษฐกิจของราชสำนักตองอูต่ออาณาจักรล้านนา กรณีศึกษาการเก็บส่วยและภาษีระหว่างคริสต์ศักราช 1558 -1752 กล่าวถึงยุคสมัยราชวงศ์ตองอูยุคต้นได้เข้ามาขยายมณฑลปริอำนาจเข้ามาสู่อาณาจักรล้านนา โดยเฉพาะเมืองเชียงใหม่ในฐานะศูนย์กลางอาณาจักรล้านนา ผู้วิจัยได้อธิบายและวิเคราะห์ผ่านระบบการเก็บส่วย สะท้อนถึงโครงสร้างการปกครองแบบรัฐจารีต ปัญหาทางการเมือง เศรษฐกิจ ตามแนวคิดจักรพรรดิราชและแนวคิดรัฐมณฑล(Madala state) ซึ่งมีอิทธิพลไปสู่การเปลี่ยนแปลงในยุคราชวงศ์ตองอูยุคฟื้นฟู(นยองยาน) ส่งผลให้เป็นยุคหนึ่งมที่มีการขยายกรอบของแนวคิดจักรพรรดิราชและรัฐมณฑล ผลการศึกษาพบว่า ระบบการเก็บส่วยและภาษีของราชวงศ์ตองอูยุคต้นต่ออาณาจักรล้านนาในฐานะประเทศราชในรัชกาลพระเจ้าบุเรงนองการเก็บส่วยและภาษีเป็นไปเพื่อสำแดงความเป็นพระเจ้าจักรพรรดิราช ซึ่งส่วยและภาษีเป็นสิ่งของที่สามารถเชื่อมโยงโลกความเป็นจริงกับโลกของอุดมการณ์ไว้ด้วยกัน โดยเขตการปกครองที่อยู่ห่างไกลอย่างอาณาจักรล้านนาและเป็นรัฐที่มีภูมิประเทศแบบหุบเขายากต่อการควบคุม ทำให้โครงสร้างการปกครองและเศรษฐกิจยังคงใช้ยึดถือตามกฎหมายมังรายศาสตร์ดังเช่นก่อนหน้านี้ ซึ่งความสัมพันธ์ของราชสำนักตองอูเป็นเพียงอุปถัมภ์พึงพาอาศัยกันและกัน โดยไม่ได้มีกลไกอำนาจควบคุมที่แน่นอนมากนัก จนกระทั่งในสมัยพระเจ้าบุเรงนองในปลายรัชกาลของพระองค์มีได้กบฏในเมืองเชียงใหม่ พระองค์จึงได้ขยายรัฐมณฑลของเชียงใหม่และเมืองล้านนาให้มีความใกล้ชิดกับราชธานีหงสาวดีมากยิ่งขึ้น โดยการส่งตำแหน่ง “บาเยง” หมายถึงพระราชโอรสของพระองค์เอง แต่ความสัมพันธ์ระหว่างเชียงใหม่ในฐานะศูนย์กลางอาณาจักรล้านนาและราชธานีหงสาวดียังคงเดิมคราวบุกยึดเมืองเชียงใหม่ครั้งแรก ค.ศ.1558 ขณะเดียวกันในสมัยพระเจ้าปเยแห่งราชวงศ์ตองอูฟื้นฟูที่ต้องเผชิญปัญหาด้านความมั่นคงในการครองอำนาจของพระมหากษัตริย์ที่ถูกสะสมตั้งแต่ยุคปลายราชวงศ์ตองอูยุคต้นและยุคต้นราชวงศ์ตองอูฟื้นฟู(นยองยาน) ได้เกิดเปลี่ยนแปลงระบบการเก็บส่วยและภาษีที่ออกมาในรูปแบบการปกครองแบบใหม่โดยใช้กลไกอำนาจจากส่วนกลางของขุนนางและระบบคานอำนาจภายในราชสำนักตองอูฟื้นฟู(นยองยาน) โดยใช้องค์ความรู้จากต้นราชวงศ์ตองอูฟื้นฟูมาพัฒนาต่อยอดจนกระทั่งในรัชกาลพระเจ้าสเน่ห์มินที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองอีกครั้ง แต่ยังคงใช้ระเบียบการเก็บส่วยและภาษีดั้งเดิม โดยมีแม่ทัพจากการแต่งตั้งของพระมหากษัตริย์เข้ามาทำหน้าที่ปกครองในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ มีวาระทุก 3 ปี ซึ่งเมืองอื่นๆในอาณาจักรล้านนายังคงยึดถือระเบียบเดิมตั้งแต่สมัยพระเจ้าบุเรงนอง โดยปัญหาทางการเมืองและเศรษฐกิจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองในสมัยราชวงศ์นยองยานทั้ง 2 ครั้งและปัญหาดังกล่าวนี้กลับส่งผลถึงการเกิดกบฏในล้านนาซึ่งเป็นกบฏเหล่านี้ที่มีความเกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา รวมถึงส่งผลถึงการล่มสลายของราชวงศ์ตองอูฟื้นฟู(นยองยาน) อีกด้วย นอกจากนี้ระบบการเก็บส่วยและภาษี รวมถึงองค์ความรู้ในช่วงราชวงศ์ตองอูฟื้นฟู(นยองยาน) ผู้ศึกษาพบว่าระบบการเก็บส่วยและภาษี สามารถสะท้อนภาพของการวิวัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับกลไกอำนาจอันเชื่อมโยงโลกของความเป็นจริงกับโลกในอุดมคติเข้าไว้ด้วยกัน อีกทั้งบทเรียนจากปัญหาภายนอก-ภายในปลายราชวงศ์ตองอูยุคต้น ทำให้ราชสำนักตองอูฟื้นฟู(นยองยาน)จำเป็นต้องพัฒนาระบอบการปกครองภายในอาณาจักร เพื่อให้เขตพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์มีอำนาจครอบคลุมอย่างเบ็ดเสร็จทั่วทั้งอาณาจักร เปรียบเสมือนการแก้ไขความบกพร่องจากปัญหาภายในปริมณฑลของอาณาจักรตองอูยุคต้นนั้นเองen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932004 ปริญญ์ อาศิรพงษ์พร.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.