Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79891
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.advisorจิตตวดี เหรียญทอง-
dc.contributor.authorคมกฤทธิ์ การชะงัดen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T06:57:50Z-
dc.date.available2024-07-28T06:57:50Z-
dc.date.issued2567-03-19-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79891-
dc.description.abstractHealth literacy promotion is important for older persons with knee osteoarthritis to improve self-management and decrease severity of disease. This experimental research aimed to investigate the impact of PITS-based education to enhance health literacy on self-management and disease severity among older persons with osteoarthritis. The fifty-four participants were older persons with osteoarthritis receiving services from one of three sub-district health promoting hospitals in Uttaradit province and were randomly selected with twenty-seven participants equally and randomly assigned to both the experimental and control groups. The experimental group received a group education session four times, along with individual education, totaling five educational sessions over 3 weeks. The control group received routine care. The research protocol included the education plan, a health literacy for older persons with knee osteoarthritis manual, a knee osteoarthritis video, an understanding personal perception scale, and a health literacy of older persons with knee osteoarthritis questionnaire. The data collection tools included a personal and illness data recording form, a questionnaire on self-management behavior of older persons with knee osteoarthritis and the Oxford Knee Score. Data analysis included descriptive statistics, independent t-test, and paired t-test.   The results indicated that: 1. The mean score for self-management of older persons with knee osteoarthritis receiving PITS-based education was higher than the score for those receiving routine care (p < .001), and higher than before, at a significant level (p < .001). 2. The severity of disease of older persons with knee osteoarthritis receiving PITS-based education was lower than the severity for those receiving routine care (p < .05), and lower than before at a significant level (p < .001). The results of this study demonstrate that PITS-based education can effectively enhance health literacy and self-management among older persons with knee osteoarthritis. Therefore, healthcare professionals can utilize PITS-based education as a strategy to promote self-management and reduce the severity of disease in this population.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectผลของการให้ความรู้en_US
dc.subjectหลักพิตส์en_US
dc.subjectความรอบรู้ด้านสุขภาพen_US
dc.subjectการจัดการตนเองen_US
dc.subjectความรุนแรงของโรคในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมen_US
dc.subjectEffects of Educationen_US
dc.subjectPITS-Baseden_US
dc.subjectHealth Literacyen_US
dc.subjectSelf-Managementen_US
dc.subjectDisease Severity Among Older Persons with Knee Osteoarthritisen_US
dc.subjectความรู้ตามหลักพิตส์en_US
dc.titleผลของการให้ความรู้ตามหลักพิตส์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการจัดการตนเองและความรุนแรงของโรคในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมen_US
dc.title.alternativeEffects of PITS-based education to enhance health literacy on self-management and disease severity among older persons with knee osteoarthritisen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการจัดการตนเอง (จิตวิทยา)-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashข้อเข่า -- โรค-
thailis.controlvocab.thashข้อเสื่อม-
thailis.controlvocab.thashการส่งเสริมสุขภาพ-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล -- อุตรดิตถ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพมีความสำคัญต่อผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม เพื่อนำมาสู่การจัดการตนเองที่เหมาะสมและความรุนแรงของโรคลดลง การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้ความรู้ตามหลักพิตส์เพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพต่อการจัดการตนเองและความรุนแรงของโรคในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 3 แห่งในอำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 54 ราย และสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 27 ราย กลุ่มทดลองได้รับความรู้แบบกลุ่ม จำนวน 4 ครั้ง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง และความรู้รายบุคคลจำนวน 1 ครั้ง รวมการให้ความรู้ทั้งหมด 5 ครั้ง ระยะเวลา 3 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย แผนการให้ความรู้ คู่มือความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม สื่อวีดิทัศน์โรคข้อเข่าเสื่อม แบบวัดความเข้าใจของบุคคล และแบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลการเจ็บป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม และแบบประเมินความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมของออกฟอร์ด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบทีแบบอิสระ และการทดสอบทีแบบไม่อิสระ   ผลการวิจัยพบว่า 1. คะแนนเฉลี่ยการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่ได้รับการให้ความรู้ตามหลักพิตส์สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และสูงกว่าก่อนได้รับความรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) 2. ความรุนแรงของโรคข้อเข่าเสื่อมในกลุ่มทดลองที่ได้รับการให้ความรู้ตามหลักพิตส์ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) และต่ำกว่าก่อนได้รับความรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการให้ความรู้ตามหลักพิตส์ ส่งผลให้ความรอบรู้ด้านสุขภาพและการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมดีขึ้น และความรุนแรงของโรคลดลง ดังนั้นบุคคลากรด้านสุขภาพสามารถนำรูปแบบการให้ข้อมูลตามหลักพิตส์ไปใช้เพื่อการส่งเสริมการจัดการตนเองในผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมเพื่อให้ความรุนแรงของโรคลดลงen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231106 คมกฤทธ์ การชะงัด watermark.pdf4.2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.