Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกรวรรณ กฤตวรกาญจน์-
dc.contributor.authorจันทรรัตน์ เชื้อเมืองพานen_US
dc.date.accessioned2024-07-28T06:46:49Z-
dc.date.available2024-07-28T06:46:49Z-
dc.date.issued2567-03-20-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79889-
dc.description.abstractThis study aims to study farmers' exposure to knowledge, perception, and desire to transfer knowledge about New Theory Agriculture in the area of Mae Faek Mai Subdistrict, San Sai District, Chiang Mai Province. In addition, analyze the relationship between exposure and awareness that affects farmers' desire to transfer knowledge. This study has used in-depth interviews with 6 representative government officials and farmers, and a structured questionnaire from 55 farmers who practice New Theory Agriculture and 55 farmers who non-practice New Theory Agriculture, using a purposive sampling method. The data were analyzed by descriptive statistics and reference statistics. The results were found that farmers' exposure to knowledge about New Theory Agriculture received information and knowledge from personal media sources as important. The people who have influence in opening up to knowledge about the New Theory Agriculture are community leaders and farmer leaders. Farmers who practice New Theory Agriculture have a high level of exposure to knowledge and the level of knowledge awareness is higher than that of farmers who non-practice New Theory Agriculture. Farmers who currently practice New Theory farming intend to expand the area for New Theory Agriculture. For farmers who non-practice New Theory Agriculture, there is an tendency to do New Theory Agriculture because they want to solve the problem of growing monoculture crops for commercial, and solve the debt problem from farming because the new theory of agriculture will allow farmers to sell their produce every season. In terms of testing the relationship between exposure and perception of New Theory Agriculture, it was found that knowledge content that farmers receive, radio media, television media, personal media, Time period for exposure to knowledge, and the purpose of exposure to knowledge: to satisfy interests and to use it as information for decision making. There are relationships with the transfer of knowledge of New Theory Agriculture. As for the factors affecting the desire to transfer knowledge, it was found that the content level of new agricultural theory knowledge (Beta = 0.429) was the first priority, followed by the level of farmers' awareness (Beta = 0.363) of being open to knowledge, television media (Beta = -0.021) and exposure to knowledge from neighbors or fellow farmers (Beta = -0.086). They can explain the level of transfer knowledge about the New Theory Agriculture at 45.50 percent (=0.455).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเกษตรทฤษฎีใหม่en_US
dc.subjectการเปิดรับความรู้en_US
dc.subjectการรับรู้en_US
dc.subjectการถ่ายทอดความรู้en_US
dc.titleการเปิดรับ การรับรู้ และความต้องการถ่ายทอดความรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ ในกลุ่มเกษตรตำบลแม่แฝกใหม่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeExposure, perception and knowledge transferring of new theory agriculture within the agriculture group in Mae Faek Mai Subdistrict, San Sai District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเกษตรกรรม -- สันทราย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- สันทราย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashเกษตรทฤษฎีใหม่-
thailis.controlvocab.thashการบริหารองค์ความรู้-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาการเกษตร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาการเปิดรับความรู้ การรับรู้ และความต้องการถ่ายทอดความรู้ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกร ในพื้นที่ตำบลแม่แฝกใหม่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการเปิดรับและการรับรู้ที่มีผลต่อความต้องการถ่ายทอดความรู้ของเกษตรกร โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากตัวแทนเจ้าหน้าที่รัฐและเกษตรกร จำนวน 6 ราย และแบบสอบถามแบบมีโครงสร้างจากเกษตรกรที่ทำเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 55 ราย และเกษตรกรที่ไม่ได้ทำเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 55 ราย ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง นำมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิง พบว่า การเปิดรับความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกรจะได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้จากแหล่งสื่อบุคคลเป็นสำคัญ ซึ่งบุคคลที่มีอิทธิพลในการเปิดรับความรู้เกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ คือ ผู้นำชุมชน ผู้นำเกษตรกร โดยเกษตรกรที่ทำเกษตรทฤษฎีใหม่มีระดับการเปิดรับความรู้ และระดับการรับรู้ความรู้ในระดับที่สุงกว่าเกษตรกรที่ไม่ทำเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรกรที่ทำเกษตรทฤษฎีใหม่อยู่ในปัจจุบันมีความตั้งใจขยายพื้นที่สำหรับทำเกษตรทฤษฎีใหม่เพิ่มขึ้น สำหรับเกษตรกรที่ไม่เคยทำเกษตรทฤษฎีใหม่มีแนวโน้มที่จะทำเกษตรทฤษฎีใหม่เพิ่มมากขึ้นเนื่องจากต้องการแก้ไขปัญหาการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการพาณิชย์ และแก้ปัญหาหนี้สินจากการทำการเกษตรเพราะเกษตรทฤษฎีใหม่จะช่วยให้เกษตรกรสามารถขายผลผลิตได้ทุกฤดูกาล ในส่วนของการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับและการรับรู้ความรู้ด้านเกษตรทฤษฎีใหม่พบว่า เนื้อหาความรู้ที่เกษตรกรได้รับ สื่อโทรทัศน์ รูปแบบของสื่อบุคคล ระยะเวลาในการเปิดรู้ความรู้ วัตถุประสงค์ในการเปิดรับความรู้เพื่อตอบสนองความสนใจและเพื่อนำไปเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจ มีความสัมพันธ์การถ่ายทอดความรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการถ่ายทอดความรู้ พบว่า ระดับเนื้อหาความรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ (Beta = 0.429) มีความสำคัญเป็นอันดับแรก รองลงมา คือ ระดับการรับรู้ของเกษตรกร (Beta = 0.363) เปิดรับความรู้จากสื่อโทรทัศน์ (Beta = -0.021) และเปิดรับความรู้จากเพื่อนบ้านหรือเพื่อนเกษตรกร (Beta = -0.086) โดยปัจจัยดังกล่าว สามารถร่วมกันอธิบายความระดับความต้องการถ่ายทอดความรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ได้ร้อยละ 45.50 (R2 =0.455)en_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.