Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79883
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.authorหทัยทิพย์ อูปธรรมen_US
dc.date.accessioned2024-07-26T09:58:33Z-
dc.date.available2024-07-26T09:58:33Z-
dc.date.issued2024-05-23-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79883-
dc.description.abstractThis research aims to 1) study the components of the innovative culture in schools 2) study the condition of developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai 3) study the methods and best practices for developing the innovative culture in schools and 4) create and validate guidelines for developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai. The study's participants included experts who provided data through appropriateness, feasibility, and utility assessments, as well as interviews and focus group discussions. The study of the components of the innovative culture in schools by the synthesis of the concept, theoretical and research related issue identified by five experts. The study the condition of developing the innovative culture in schools, the sample group includes 238 schools under the secondary educational service area office chiang mai, using a 35-item questionnaire. Qualitative data were collected through interviews with administrators from three model schools with good innovative culture practices and nine experts with knowledge and expertise in developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai. The draft guidelines for developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai were reviewed by seven experts selected through purposive sampling, using a focus group discussion record to verify the guidelines in three aspects appropriateness feasibility and usefulness. The research findings are as follows: 1) The components of the innovative culture in schools include five elements are: 1) vision 2) learning organization 3) communication 4) collaboration and 5) motivation. The components were validated as highly appropriate by experts with extensive knowledge and expertise in innovation culture development. 2) The condition of developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai. The components of the innovative culture in schools were overall at a high reasonable level include five elements are: 1) collaboration 2) motivation 3) learning organization 4) communication and 5) vision 3) Methods and best practices for developing the innovative culture in schools are 1) the importance of applying the innovative culture in schools 2) guidelines for developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai 3) methods for applying the innovative culture concept 4) conditions for success and 5) limitations/additional suggestions for developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai 4) The guidelines for developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai consists of five aspects 1) Principles are developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai 2) Objectives are creating developing the innovative culture in schools attracted to the secondary educational service area office chiang mai 3) Methods/guidelines are 1) vision 2) learning organization 3) communication 4) collaboration and 5) motivation. 4) Conditions for success are raising awareness and understanding the necessity of change and innovative in schools and 5) Limitations and suggestions are lack of understanding and acceptance of change, the role of administrators as change leaders, the pivotal role of administrators in guiding change, and the necessity to effectively influence and motivate both internal and external stakeholders to embrace and contribute to the transformation.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for developing innovative culture in schools attracted to the Secondary Educational Service Area Office Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการวางแผนการศึกษา -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา 2) ศึกษาสภาพการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ 3) ศึกษากระบวนการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี และ 4) จัดทำและตรวจสอบแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ จำนวน 5 ท่าน โดยใช้แบบประเมินความสอดคล้องในการตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบ และรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยแบบสอบถามสภาพการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ จำนวน 238 คน และสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาจากต้นแบบสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี ด้านการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรม จำนวน 3 โรงเรียน และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา จำนวน 9 คน และตรวจสอบ (ร่าง) แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบบันทึกสนทนากลุ่มเพื่อตรวจสอบ (ร่าง) แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ ใน 3 ประเด็น ได้แก่ ความเหมาะสมความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบของวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) วิสัยทัศน์ 2) องค์กรแห่งการเรียนรู้ 3) การสื่อสาร 4) ความร่วมมือร่วมใจ และ 5) แรงผลักดัน ผลการตรวจสอบค่าดัชนีความสอดคล้องขององค์ประกอบของวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา มีค่าดัชนีความสอดคล้อง อยู่ในเกณฑ์ที่สอดคล้องทุกองค์ประกอบ 2) สภาพการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ โดยการวิเคราะห์ข้อมูล หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั้ง 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความร่วมมือร่วมใจ 2) แรงผลักดัน 3) องค์กรแห่งการเรียนรู้ 4) การสื่อสาร และ 5) วิสัยทัศน์ 3) วิธีการและวิธีปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) ความสำคัญในการนำวัฒนธรรมนวัตกรรมไปปรับใช้ในสถานศึกษา 2) แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา 3) วิธีการนำแนวคิดทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมไปปรับประยุกต์ใช้ในสถานศึกษา 4) เงื่อนไขความสำเร็จที่ส่งผลต่อการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา และ 5) ข้อจำกัด /ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา 4) แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก คือ 1) หลักการ คือ การพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ 2) วัตถุประสงค์ เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ 3) วิธีการ/แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ คือ 1) วิสัยทัศน์ 2) องค์กรแห่งการเรียนรู้ 3)การสื่อสาร 4) ความร่วมมือร่วมใจ และ 5) แรงผลักดัน 4) เงื่อนไขความสำเร็จ คือ การสร้างความตระหนัก และเข้าใจถึงความจำเป็นของการพัฒนาวัฒนธรรมนวัตกรรมของสถานศึกษา และ 5) ข้อจำกัดและข้อเสนอแนะ คือ ความไม่เข้าใจและไม่ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารจึงต้องเป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลง มีศักยภาพในการโน้มน้าว และผลักดัน ให้บุคลากรในสถานศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างนวัตกรรมen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232092 หทัยทิพย์ อูปธรรม.pdf13.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.