Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJuthathip Chalermphol-
dc.contributor.advisorRuth Sirisunyaluck-
dc.contributor.advisorBudsara Limnirunkul-
dc.contributor.authorRitdeach Sutaen_US
dc.date.accessioned2024-07-24T17:07:17Z-
dc.date.available2024-07-24T17:07:17Z-
dc.date.issued2024-05-27-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79868-
dc.description.abstractThe objective of this research was to studied the Enhancement of Farmers’ Hemp Production Potentials in Northern Thailand. Analysis of hemp production conditions for farmers in northern Thailand. and propose guidelines for strengthening the potential of farmers in hemp production in northern Thailand. Quantitative research methods used interviews were used to obtain general information about hemp farmers in the northern region of Thailand. This studied studied a total of 325 people in the area of Chiang Mai Province. Chiang Rai Province, Tak Province, which is the area with the most hemp cultivated in northern Thailand. The studied of general information of hemp growers, it was found that the majority of hemp farmers' main occupations are farmers, 283 cases (87.1 percent), followed by trading occupations, 20 cases (6.2 percent), private business occupations. There were 17 cases (5.2%), 4 civil servants (1.2%) and 1 company employee (0.3%), respectively, in each household. The maximum number of household members is 9 people, the lowest is 1 person. Most farmers have the highest number of household members, 4-6 people, 176 people (54.2 percent), of whom the average number of workers in the sector is 2 people (55.1 percent). In addition to growing hemp plants Farmers still grow other types of crops. In each household, there are 5 types of crops grown as follows: The most popular type of crop is rice, 291 cases (89.5 percent), type 2 is hemp, 223 cases (68.6 percent), type 3 is garden vegetables, number 5. 84 cases (25.8%), type 4 includes passion fruit, 13 cases (4.0%), and type 5 includes corn, 6 cases (1.8%), respectively. In general, farmers are group members. The average monthly income is more than 35,000 baht (67.1 percent). Most farmers, 93.8 percent, are burdened with debt. The analyze of farmers' hemp production conditions, it was found that the hemp strain that farmers like to grow most is the RPF3 strain, which is the strain that gives the highest yield. Most farmers grow hemp to produce fiber. Seeds and inflorescences The amount of seed used per rai for planting to produce fiber was 7 kilograms per rai (64.9 percent). For planting to produce seeds and inflorescences, the amount of seed was 2. kilograms per rai (7.7 percent). Most farmers use an average hemp cultivation area of 0.1 - 10 rai (81.8 percent). Planting to produce fiber and produce seeds or inflorescences will have different planting distances to produce fiber. The planting distance is 10 x 10 centimeters. For planting to produce seeds or inflorescences, the planting distance is 1 x 1 meter. Most farmers use the method of scattering seeds in rows and planting once per year, with the planting period being in June (percentage 49.8) to July (50.2 percent) and the harvesting period is between August (46.2 percent) and September (45.8 percent). Most farmers use approximately 1-10 workers per planting cycle (100,000) to produce hemp. 92.6) For water sources used for cultivation, 60.3 percent comes from irrigation. Most of the fertilizers that farmers use are chemical fertilizers, 72 percent. All farmers receive support from extension officers. The number of extension officers in one planting cycle averages 2 people per farmer. The extension officers come from the Higher Agricultural Research and Development Institute (Public Organization). and communication channels between farmers and extension officials using mobile phones to contact extension officials. For the use of innovation and technology to help with the production of hemp plants, it was found that 75.7 percent used tractors to prepare the planting area, 75.7 percent used seed trucks for planting, and 22.2 percent used sprinklers for watering. All farmers use fiber strippers for processing and automobiles for transporting goods. As for problems and obstacles that arose, most farmers, 14.3 percent, used solutions by informing or consulting or asking extension officials.From the The analyze of the hemp planting potential of farmers in the northern region of Thailand, it was found that the factors that affect the potential level of farmers include: The amount of hemp planting area has a statistically significant effect on the potential level of farmers ( P < 0.01) and attending the training has a statistically significant effect on the potential level of farmers (P < 0.01), including experience in growing hemp plants has a significant effect on the potential level of farmers. Statistically significant ( P < 0.01 ) In addition, from the research study, we also learned guidelines for promoting the potential of farmers and extension officials in growing hemp in all 5 areas as follows: Preparation for growing hempplants by farmers. Farmers' growing conditions Problems regarding the management of farmers' planting systems Developing the potential of farmers in growing hemp crops and the promotion aspect of promoters and agencies involved in promoting hemp cultivation.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectHempen_US
dc.subjectEnhancementen_US
dc.subjectProduction potentialsen_US
dc.subjectExtensionen_US
dc.subjectNorthern Thailanden_US
dc.titleEnhancement of farmers’ hemp production potentials in Northern Thailanden_US
dc.title.alternativeการส่งเสริมศักยภาพการผลิตกัญชงของเกษตรกรในภาคเหนือของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHemp -- Planting-
thailis.controlvocab.lcshHemp -- Production-
thailis.controlvocab.lcshAgricultural extension work-
thailis.controlvocab.lcshFarmers -- Thailand, Northern-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพการผลิตกัญชงของเกษตรกรในภาคเหนือของประเทศไทย วิเคราะห์สภาพการผลิตกัญชงของเกษตรกรในภาคเหนือของประเทศไทย และเสนอแนวทางการเสริมสร้างศักยภาพการผลิตกัญชงของเกษตรกรในภาคเหนือของประเทศไทย ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณโดยสัมภาษณ์เพื่อทราบถึงข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้ปลูกกัญชงในเขตภาคเหนือของประเทศไทย โดยการศึกษาครั้งนี้ทำการศึกษาประชากรทั้งหมด 325 ราย ในเขตพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดตาก ซึ่งเป็นเขตพื้นที่ที่มีการเพาะปลูกพืชกัญชงมากที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย จากการศึกษาข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรผู้ปลูกกัญชงพบว่าเกษตรกรผู้ปลูกกัญชงส่วนใหญ่มีอาชีพหลักเป็น เกษตรกรจำนวน 283 ราย (ร้อยละ87.1) รองลงมาคืออาชีพค้าขายจำนวน 20 ราย (ร้อยละ6.2) อาชีพธุรกิจส่วนตัวจำนวน 17 ราย (ร้อยละ5.2) ข้าราชการจำนวน4 ราย (ร้อยละ1.2) และเป็นพนักงานบริษัทจำนวน 1 ราย (ร้อยละ0.3) ตามลำดับ ในแต่ละครัวเรือน มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือนสูงสุด 9 คน ต่ำสุด 1 คนโดยเกษตรกรส่วนใหญ่มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน มากที่สุดคือ 4-6 คนจำนวน 176 ราย (ร้อยละ54.2) ซึ่งเป็นแรงงานในภาคการเฉลี่ย 2 คน(ร้อยละ 55.1) นอกจากปลูกพืชกัญชง เกษตรกรยังคงมีการปลูกพืชชนิดอื่นๆ ซึ่งในแต่ละครัวเรือนปลูกพืชมากที่สุด 5 ชนิด ดังนี้ ชนิดพืชที่นิยมปลูกมากที่สุดคือข้าวจำนวน 291 ราย (ร้อยละ89.5) ชนิดที่ 2 ได้แก่ กัญชง จำนวน 223 ราย (ร้อยละ68.6) ชนิดที่ 3 ได้แก่ ผักสวนครัว จำนวน 84 ราย (ร้อยละ25.8) ชนิดที่ 4 ได้แก่ เสาวรสจำนวน 13 ราย (ร้อยละ4.0) และชนิดที่ 5 ได้แก่ ข้าวโพดจำนวน 6 ราย (ร้อยละ1.8) ตามลำดับ โดยทั่วไปเกษตรกรเป็นสมาชิกกลุ่ม รายได้เฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 35,000 บาท (ร้อยละ 67.1) เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 93.8 มีภาระหนี้สิน จากการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพการผลิตกัญชงของเกษตรกรพบว่าสายพันธ์กัญชงที่เกษตรกรนิยมปลูกมากที่สุดคือสายพันธุ์ RPF3 ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงที่สุด โดยเกษตรกรส่วนใหญ่ปลูกกัญชงเพื่อผลิตเส้นใย เมล็ดพันธุ์และช่อดอก จำนวนที่ใช้เมล็ดพันธุ์ต่อไร่สำหรับการปลูกเพื่อผลิตเส้นใยอยู่ที่ 7 กิโลกรัมต่อไร่(ร้อยละ 64.9) สำหรับปลูกเพื่อผลิตเมล็ดและช่อดอกใช้เมล็ดพันธุ์ปริมาณ2 กิโลกรัมต่อไร่(ร้อยละ 7.7) เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พื้นที่พื้นที่ปลูกกัญชงเฉลี่ย 0.1 - 10 ไร่ (ร้อยละ81.8) ซึ่งการปลูกเพื่อผลิตเส้นใยและผลิตเมล็ดหรือช่อดอกจะมีระยะปลูกที่แตกต่างกันโดยผลิตเส้นใยระยะปลูกอยู่ที่10 x 10 เซนติเมตร สำหรับการปลูกเพื่อผลิตเมล็ดหรือช่อดอกระยะปลูกอยู่ที่ 1 x 1 เมตร เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้วิธีโรยเมล็ดเป็นแถวและปลูก 1 รอบต่อปีโดยช่วงปลูกอยู่ในเดือนมิถุนายน(ร้อยละ49.8) ถึงกรกฎาคม(ร้อยละ50.2) และระยะเก็บเกี่ยวคือช่วงเดือนสิงหาคม(ร้อยละ46.2) และกันยายน (ร้อยละ 45.8) เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แรงงานในการผลิตพืชกัญชงประมาณ 1-10 คนต่อรอบการปลูก(ร้อยละ 92.6) สำหรับแหล่งน้ำที่ใช้ในการเพาะปลูกร้อยละ 60.3 มาจากชลประทาน ปุ๋ยที่เกษตรกรใช้ส่วนใหญ่เป็นปุ๋ยเคมีร้อยละ 72 เกษตรกรทั้งหมดได้รับการส่งเสริมจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมซึ่งจำนวนเจ้าหน้าที่ส่งเสริมใน 1 รอบการปลูกเฉลี่ย 2 คนต่อเกษตรกร ซึ่งเจ้าหน้าที่ส่งเสริมมาจากสถาบันวิจัยและพัฒนาเกษตรที่สูง(องค์การมหาชน)และช่องทางการติดต่อระหว่างเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมโดยใช้โทรศัพท์มือถือในการติดต่อเจ้าหน้าที่ส่งเสริม สำหรับใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในด้านการผลิตพืชกัญชงพบว่าร้อยละ 75.7 ใช้รถไถในการเตรียมพื้นที่ปลูก ร้อยละ 75.7 ใช้รถหย่อดเมล็ดในการปลูก ร้อยละ 22.2 ใช้สปริงเกอร์ในการรดน้ำ เกษตรกรทั้งหมดใช้เครื่องลอกเส้นใยในการแปรรูป และ ใช้รถยนต์ในการขนส่งสินค้า สำหรับปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นเกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 14.3 ใช้วิธีแก้ไขปัญหาโดยการแจ้งหรือปรึกษาหรือสอบถามเจ้าหน้าที่ส่งเสริม จากการวิเคราะห์ศักยภาพการปลูกพืชกัญชงของเกษตรกรในเขตภาคเหนือของประเทศไทยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับศักยภาพของเกษตรกร ได้แก่ จำนวนพื้นที่ปลูกกัญชงมีผลต่อระดับศักยภาพของเกษตรกรอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติยิ่ง ( P < 0.01 ) และ การเข้ารับการอบรมมีผลต่อระดับศักยภาพของเกษตรกรอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติยิ่ง ( P < 0.01 ) รวมไปถึงประสบการณ์ในการปลูกพืชกัญชงมีผลต่อระดับศักยภาพของเกษตรกรอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติยิ่ง ( P < 0.01 ) นอกจากนี้จากการศึกษาวิจัยยังได้ทราบแนวทางในการส่งเสริมศักยภาพการปลูกกัญชงของเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ส่งเสริมทั้งหมด 5 ด้าน ดังนี้ ด้านการเตรียมตัวในการปลูกพืชกัญชงของเกษตรกร ด้านสภาพการปลูกของเกษตรกร ด้านปัญหาเกี่ยวกับการจัดการระบบการปลูกของเกษตรกร ด้านการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการปลูกพืชกัญชง และด้านการส่งเสริมของนักส่งเสริมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการปลูกกัญชงen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610851016 Ritdeach Suta.pdfENHANCEMENT OF FARMERS’ HEMP PRODUCTION POTENTIALS IN NORTHERN THAILAND1.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.