Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorวรพิมพ์ พงศ์ภัคอภิปภาen_US
dc.date.accessioned2024-07-23T10:29:58Z-
dc.date.available2024-07-23T10:29:58Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79850-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study the past emergency management methods of the 41st Wing and to suggest guidelines for managing future emergencies that could negatively impact the image and reputation of the Wing 41, as well as prevent crises. Qualitative research methods were used by gathering data from related research documents and using semi-structured interviews for data collection. The research results found that the situation had a high impact on the image of Wing 41, arising from unforeseeable situations. Although the organization had various emergency response plans in place, new threats are constantly emerging. From the perspective of executives, department heads, and operators, pre-crisis processes are seen as important, including searching for early warning signs, preparing personnel and equipment, updating relevant plans to be up-to-date, and regularly practicing and reviewing plans. This allows an ability to knowledgeably confront events, resolve problems correctly and efficiently, control the situation to prevent further damage, and return to normal quickly. For post-crisis management of the damaged organizational image, which is the main impact of what happened to Wing 41, the unit's civilian affairs and public relations department should take action since they have expertise in image communication and negotiation. Moreover, it was found that the mass media has come to play an important role in disseminating various information and news, as modern media is fast and presents information instantly. Therefore, timely and concise communication of facts may be a new approach to help mitigate impacts more than beforeen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการภาวะวิกฤติที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์กองบิน 41en_US
dc.title.alternativeCrisis management of situations effecting toward of the Wing 41’s Imageen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashกองบิน 41-
thailis.controlvocab.thashภาพลักษณ์องค์การ-
thailis.controlvocab.thashองค์การ -- การประชาสัมพันธ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการจัดการกับภาวะฉุกเฉินที่ผ่านมาของกองบิน 41 และเสนอแนะแนวทางการจัดการภาวะฉุกเฉินที่ส่งผลกระทบเชิงลบและภาพลักษณ์ของกองบิน 41 ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต และเพื่อหยุดยั้งหรือป้องกันไม่ให้เข้าสู่ภาวะวิกฤติ ใช้วิธีการศึกษางานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้างในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า สถานการณ์ส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของกองบิน 41 ในระดับสูง เกิดจากสถานการณ์ที่ไม่สามารถคาดหมายได้ก่อน แม้ว่าองค์กรจะมีแผนเตรียมรับต่อสถานกาณ์ฉุกเฉินในรูปแบบต่าง ๆ แต่เนื่องจากปัจจุบันภัยคุกคามใหม่ๆ เกิดขึ้นเสมอ ในมุมมองของทั้งผู้บริหาร หัวหน้าส่วน และผู้ปฏิบัติ มีความเห็นตรงกันว่ากระบวนการก่อนเกิดวิกฤติจึงมีความสำคัญ ได้แก่ การตรวจหาสัญญาณเตือน การจัดเตรียมความพร้อมทั้งคนและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง การปรับปรุงแผนที่เกี่ยวข้องให้ทันสมัย รวมถึงต้องมีการฝึกซ้อมทบทวนแผนเป็นประจำ เพื่อให้เผชิญต่อเหตุการณ์ได้อย่างรู้เท่าทัน แก้ไขปัญหาได้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ สามารถควบคุมสถานการณ์ไม่ให้เกิดความเสียหายเพิ่มมากขึ้น และกลับเข้าสู่สถานการณ์ปกติโดยเร็ว ส่วนในด้านการบริหารจัดการหลังภาวะวิกฤติเกี่ยวกับภาพลักษณ์องค์กรที่เสียไป ซึ่งเป็นผลกระทบส่วนใหญ่ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับกองบิน 41 ควรต้องดำเนินการโดยฝ่ายกิจการพลเรือนและประชาสัมพันธ์ของหน่วย เนื่องจากมีความชำนาญด้านการสื่อสารภาพลักษณ์ การเจรจาต่อรอง อีกทั้งยังพบว่าสื่อมวลชนได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในเรื่องของการแพร่กระจายข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เนื่องจากปัจจุบันสื่อมีความรวดเร็วและมีการนำเสนอข้อมูลข่าวสารแบบทันท่วงที ดังนั้นการสื่อสารด้วยข้อเท็จจริงอย่างทันท่วงทีและตรงประเด็น อาจจะเป็นแนวทางใหม่ในการช่วยให้ลดผลกระทบได้มากขึ้นกว่าเดิมen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932066 วรพิมพ์ พงศ์ภัคอภิปภา.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.