Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.authorสุจินต์ กรโกวิทen_US
dc.date.accessioned2024-07-20T03:16:29Z-
dc.date.available2024-07-20T03:16:29Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79829-
dc.description.abstractThe purposes of this independent study were to 1) study current state, problems and administrative approach and 2) develop and examine administrative innovation to create transitions between early childhoods and basic eduction level at Kowittamrong Chiang Mai School. The target groups consisted of 17 teachers of Kowittamrong Chiang Mai School: grade 1-3 kindergarten teacher, grade 1 elementary teacher, administrators of Kowittamrong Chiang Mai School, deputy director of academic affairs, head of kindergarten section, head of grade 1elementary teacher. Directors of private schools with an educational supervisor from the Chiang Mai Provincial Education Office and 9 administrators of Kowittamrong Chiang Mai School were selected as purposive samples by using focus group discussions. Qualitative data were collected by an interview form of 3 expertists with best practice guidelines who were selected as purposive samples through purposive focus group discussions, and examined (draft) administrative innovations to create transitions between early childhood and children in 2 issues: correctness and appropriateness. The research revealed that: 1. According to Current state, problems and administrative approach, 2 significant problems were found in current state: in term of learning management, both core curriculum and learning management disconnected to basic education level, the problem of teachers’ various aspects development, including the development of students who lack basic learning skills. Turning to administration, neither administrators’ development of strategies nor the problem of generating understanding with parents was congruent that caused the problem of unclear transition. According to the study of the Best Practice, transitions between early childhood and basic eduction level composed of 4 areas: 1) Administrators, 2) Teachers, 3) Parents and 4) Children that were the successful condition and recommendations of administrative innovation to create transitions between early childhoods and basic eduction level. 2. Developing administrative innovation to create transitions between early childhoods and basic eduction level at Kowittamrong Chiang Mai School applied Design Thinking Process, consisting of 5 stages: 1) Understanding the problem (Empathize) 2) Defining the problem (Define) 3) Creating alternatives (Ideate) 4) Designing simulation prototype (Prototype) 5) Prototype testing (Test) which was used to create (draft) administrative innovation. It consisted of 4 components: 1) Administrators including strategic management, participatory academic management, development, support, fulfillment and extension 2) Teachers: Curriculum development, learning design and management, evaluation and assessment 3) Parents: Parental participation on administration, academics and child care management 4) Children: Developmental and continue studying readiness in Grade 1. The key conditions to successful transition were administrators’ leadership, the participators’ understanding of the use of innovation, enhancing motivation, promoting and supporting the use of innovation and developing participatory innovation networks, fostering and supporting basic factors and effective obstacle problem management. The recommendations were appointment committee, student support system administration, student readiness preparation, teacher development, enhancing and support parental participation and participants’ one, and student aspect screening system helping students’ language, organizing intensive individual skill development activities and individual assessment using various technologies and tools. The results of (draft) innovative prototype testing were that overall correctness was correct (x ̅ = 4.83, S.D. = 0.37) and appropriateness (x ̅ = 4.81, S.D. = 0.39) at the highest level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนานวัตกรรมการบริหารเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อของเด็กปฐมวัย สู่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนโกวิทธำรงเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDeveloping administrative innovation to create transitions between early childhood and basic education levelat Kowittamrong Chiang Mai Schoolen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย -- โปรแกรมกิจกรรม-
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวทางการบริหาร และ 2) สร้างและตรวจสอบนวัตกรรมการบริหารเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อของเด็กปฐมวัยสู่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนโกวิทธำรงเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย ครูประจำชั้นอนุบาล ปีที่ 1-3 ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ฝ่ายบริหาร หัวหน้าฝ่ายวิชาการ หัวหน้าฝ่ายปฐมวัย และครูหัวหน้าระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1โรงเรียนโกวิทธำรงเชียงใหม่ จำนวน 17 คน ผู้อำนวยการโรงเรียนเอกชนจังหวัดเชียงใหม่ ผู้อำนวยการโรงเรียนเอกชนที่มี ศึกษานิเทศก์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงใหม่ และกรรมการบริหารโรงเรียนโกวิทธำรงเชียงใหม่ จำนวน 9 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจงโดยใช้แบบสนทนากลุ่ม และรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิที่มี แนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) จำนวน 3 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบสัมภาษณ์แนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) และตรวจสอบ(ร่าง)นวัตกรรมการบริหารเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อของเด็กปฐมวัยฯ ใน 2 ประเด็น คือ ความถูกต้องและความเหมาะสม ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวทางการบริหาร โดยสภาพปัจจุบัน พบปัญหา ใน 2 ประเด็นหลัก คือ ด้านการจัดการเรียนรู้ ทั้งหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ไม่เชื่อมต่อกับการศึกษาขั้นพื้นฐานปัญหาการพัฒนาครูในด้านต่าง ๆ รวมพัฒนาการของเด็กที่ขาดทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้ และด้านการบริหารจัดการ ทั้งด้านการพัฒนากลยุทธ์ของผู้บริหารไม่สอดคล้องกัน และปัญหาการสร้างความรู้ความเข้าใจกับผู้ปกครอง จึงทำให้เกิดปัญหารอยเชื่อมต่อที่ไม่ชัดเจน ซึ่งจากการศึกษาแนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประกอบด้วย การบริหารเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อของเด็กปฐมวัยสู่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ผู้บริหาร 2) ครู 3) ผู้ปกครอง และ 4) เด็ก รวมถึง เงื่อนไขความสำเร็จ และข้อเสนอแนะในการการบริหารเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อของเด็กปฐมวัยสู่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2. การสร้างนวัตกรรมการบริหารเพื่อสร้างรอยเชื่อมต่อของเด็กปฐมวัยสู่ระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน โรงเรียนโกวิทธำรงเชียงใหม่ ได้ประยุกต์ใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ประกอบไปด้วยการดำเนินการใน 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การเข้าใจปัญหา 2) การกำหนดปัญหา 3) การสร้างสรรค์ทางเลือก 4) การจำลองต้นแบบ 5) การทดสอบต้นแบบ มาใช้ในการยก(ร่าง)นวัตกรรมการบริหารฯ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ด้านผู้บริหาร ได้แก่ การบริหารเชิงกลยุทธ์ การบริหารวิชาการแบบมีส่วนร่วม การพัฒนา สนับสนุนเติมเต็มและต่อยอด 2) ด้านครู ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตร การออกแบบและการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล 3) ด้านผู้ปกครอง ได้แก่ การมีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการและวิชาการ การมีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก 4) ด้านเด็ก ได้แก่ ความพร้อม ด้านพัฒนาการและความพร้อมในการศึกษาต่อในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั้งนี้เงื่อนไขความสำเร็จ คือภาวะผู้นำของผู้บริหาร ความเข้าใจในการใช้นวัตกรรมของผู้เกี่ยวข้อง การสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริม สนับสนุนการใช้นวัตกรรม เครือข่ายผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรม การส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยพื้นฐาน และการบริหารจัดการปัญหาที่อาจเป็นอุปสรรคอย่างมีประสิทธิภาพ และข้อเสนอแนะ คือ การแต่งตั้งคณะกรรมการ การบริหารสร้างระบบดูแลเด็กการเตรียมความพร้อมเด็ก การพัฒนาครู การส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง การมีระบบในการคัดกรอง ช่วยเหลือในเรื่องของภาษา การจัดกิจกรรมที่เน้น การพัฒนาทักษะและประเมินเด็กเป็นรายบุคคล ด้วยเทคโนโลยีและเครื่องมือที่หลากหลาย โดยผลการตรวจสอบ (ร่าง) นวัตกรรมฯ โดยภาพรวมมีความถูกต้อง (x ̅= 4.83, S.D. = 0.37) ความเหมาะสม (x ̅= 4.81, S.D. = 0.39)อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232090 สุจินต์ กรโกวิท.pdf14.1 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.