Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79824
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChommaphat Malang-
dc.contributor.authorZeng, Yitingen_US
dc.date.accessioned2024-07-19T10:02:21Z-
dc.date.available2024-07-19T10:02:21Z-
dc.date.issued2024-06-13-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79824-
dc.description.abstractThis paper conducts a Systematic Literature Review (SLR) to explore the key factors influencing consumer intentions to purchase Electric Vehicles (EVs). The study is underpinned by the SLR methodology adapted from the Preferred Reporting Items for Systematic Reviews and Meta-Analyses (PRISMA) framework. We examined 36 related articles using Rayyan software to identify publication trends, methodologies, theories, and variable factors in existing research on EVs purchase intentions. The analysis reveals that consumer attitudes (ATT), societal norms (SN), perceived behavioral control (PBC), and Environmental Concern (EC) are pivotal in shaping EVs purchase intentions. Additionally, the study highlights the significant impact of government policies, economic factors, technical parameters, and market dynamics on the EVs market. The research also identifies gaps in the literature, particularly in the areas of habitual behavior and hedonic motivation (HM), suggesting the need for further exploration. Our findings show that different journals contribute diversely to this research area, with 'Sustainability (Switzerland)' leading the publications. Structural Equation Modeling (SEM) and Partial Least Squares (PLS) are the most used research methods, while the Theory of Planned Behavior (TPB) and the Technology Acceptance Model (TAM) are the most frequently used theoretical frameworks. Geographically, most studies originate from China, followed by India and Thailand, indicating significant research interest in these regions. This study contributes to the discourse on sustainable transportation by providing insights that can inform targeted marketing strategies and infrastructural planning in Thailand. By understanding the multifaceted factors influencing EVs purchase intentions, stakeholders, including policymakers, manufacturers, and marketers, can better facilitate the growth of EVs in the region.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleIdentifying key factors affecting purchase intentions of electric vehicles using systematic literature reviewen_US
dc.title.alternativeการระบุปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้า โดยใช้การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshElectric vehicles -- Purchasing-
thailis.controlvocab.lcshConsumer behavior-
thailis.controlvocab.lcshConsumers' preferences-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ไฟฟ้าโดยใช้การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ ที่ปรับปรุงจากรายการรายงานที่ต้องการสำหรับการตรวจสอบอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์เมตาดาต้า โดยการทบทวนวรรณกรรมจำนวน 36 บทความผ่านซอฟต์แวร์ เรย์ยัน (Rayyan) เพื่อระบุแนวโน้มการตีพิมพ์ วิธีการศึกษา ทฤษฎี และตัวแปรต่างๆ ที่มีอยู่ในงานวิจัยเกี่ยวกับความตั้งใจในการซื้อรถยนต์ไฟฟ้า ผลการวิเคราะห์พบว่า ทัศนคติของผู้บริโภค (ATT) บรรทัดฐานทางสังคม (SN) การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม (PBC) และความกังวลด้านสิ่งแวดล้อม (EC) เป็นปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการซื้อรถยนต์ไฟฟ้า นอกจากนี้ งานวิจัยยังเน้นย้ำถึงนโยบายรัฐบาล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ พารามิเตอร์ทางเทคนิค และการสื่อสารการตลาดเชิงพลวัต ที่มีผลกระทบอย่างมากต่อตลาดรถยนต์ไฟฟ้า การศึกษายังระบุถึงช่องว่างในงานวิจัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องพฤติกรรมที่เป็นนิสัยและแรงจูงใจด้านความบันเทิง (Hedonic Motivation) ซึ่งแนะนำว่าควรมีการสำรวจเพิ่มเติม จากการวิจัยพบว่าวารสารต่างๆ มีส่วนร่วมในสาขาการวิจัยนี้แตกต่างกัน โดยที่วารสารสวิตเซอร์แลนด์ (Sustainability) มีบทความมากที่สุดตัวแบบสมการโครงสร้าง (SEM) และวิธีคำนวณเพื่อให้ได้เส้นถดถอย (PLS) เป็นวิธีการวิจัยที่ใช้บ่อยที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (TPB) และการยอมรับเทคโนโลยี (TAM) เป็นกรอบทฤษฎีที่ใช้บ่อยที่สุด การวิจัยส่วนใหญ่มาจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ตามด้วยสาธารณรัฐอินเดีย และประเทศไทย แสดงให้เห็นถึงความสนใจที่สำคัญในภูมิภาคเหล่านี้ การศึกษานี้ ได้มีส่วนร่วมในการอภิปรายเกี่ยวกับระบบการขนส่งอย่างยั่งยืนโดยการให้ข้อมูลเชิงลึกที่สามารถนำมาใช้ในการวางแผนกลยุทธ์การตลาดที่มีเป้าหมาย และการวางแผนโครงสร้างพื้นฐานในประเทศไทย ด้วยความเข้าใจในปัจจัยหลายประการที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการซื้อรถยนต์ไฟฟ้า ผู้มีส่วนได้เสีย รวมถึงผู้กำหนดนโยบาย ผู้ผลิต และนักการตลาดสามารถส่งเสริมการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
652132023 - Yiting Zeng.pdf5.61 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.