Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79823
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยงยุทธ ยะบุญธง | - |
dc.contributor.advisor | ธารณ์ ทองงอก | - |
dc.contributor.author | ศุภจิต ศรีธิ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-19T09:55:56Z | - |
dc.date.available | 2024-07-19T09:55:56Z | - |
dc.date.issued | 2024-05-25 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79823 | - |
dc.description.abstract | The Development of Internal Quality Assurance Manual for Foreign Language Department of Anubaan Chiangmai School aims to: (1) Study the current situation, desired state, and needs for Internal Quality Assurance for Foreign Language Department of Anubaan Chiangmai School. (2) Study the Internal Quality Assurance for Foreign Language Department of educational institutions with best practices. and (3) Develop and verify the Internal Quality Assurance Manual for Foreign Language Department of Anubaan Chiangmai School. The study is divided into three steps. The target group includes 53 participants: school administrators, heads of academic affairs, heads of educational quality assurance, foreign language teachers, and experts. The tools used are questionnaires, interviews, workshop agendas, and manual verification forms. The data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, mean ranking, and inferential analysis. The results of the study found that: 1. Study the current situation, desired state, and needs for Internal Quality Assurance for Foreign Language Department of Anubaan Chiangmai School. are found to be at a moderate level overall. When considered in detail, most aspects are also at a moderate level. The establishment of educational standards for the learning group is the most actualized, followed by the implementation according to the educational development plan for the learning group, and the creation of an educational development plan aimed at quality according to the group's standards, ranked third. The expected level overall is found to be at the highest level. When considered in detail, most aspects are at the highest level. The establishment of educational standards for the learning group has the highest level of expectation, followed by the implementation according to the educational development plan for the learning group, and the evaluation and internal quality inspection of the learning group, ranked third. The index of essential needs reveals that the creation of the self-assessment report for the learning group has the highest necessity, followed by the evaluation and internal quality inspection of the learning group, and the monitoring of the operations to improve the school to meet the standards of the learning group with equal average values. The creation of an educational development plan aimed at quality according to the group's standards is ranked third. 2.The study results on internal quality assurance for Foreign Language Department of educational institutions with best practices found that administrators and teachers analyze the context of the educational institution, set educational standards, indicators, and specific considerations beyond those prescribed by the Ministry of Education for the Foreign Language Learning Area. The operations are driven by an educational management development plan through various projects and activities, with continuous assessment and quality verification, as well as tracking 3.The Development of Internal Quality Assurance Manual for Foreign Language Department of Anubaan Chiangmai School consisted of 8 components: 1) Objectives 2) Scope 3) Definitions 4) Responsibilities 5) Procedures 6) References 7) Forms and8) Recording tools. The results of the validation for accuracy, appropriateness, and feasibility are at the highest level overall, meeting all set criteria in every aspect. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาคู่มือการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศของโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Development of Internal Quality Assurance for foreign language department of Anubaan Chiangmai School | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ -- นักเรียน | - |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ -- หลักสูตร | - |
thailis.controlvocab.thash | ประกันคุณภาพการศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่คาดหวัง และต้องการจำเป็นในการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศของโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ 2) ศึกษาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ของสถานศึกษาที่มีการปฏิบัติที่ดี 3) พัฒนาและตรวจสอบคู่มือการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศของโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ขั้นตอน กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ หัวหน้างานประกันคุณภาพการศึกษา คณะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 53 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ วาระการประชุมเชิงปฏิบัติการ และแบบตรวจสอบคู่มือฯ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เรียงลำดับค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ โดยสรุปแบบอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพปัจจุบัน สภาพที่คาดหวัง และความต้องการจำเป็นของการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศของโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ พบว่า มีระดับปฏิบัติหรือเป็นจริง โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของกลุ่มสาระฯ มีระดับปฏิบัติหรือเป็นจริงมากที่สุด รองลงมา คือ การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของกลุ่มสาระฯ และการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานของกลุ่มสาระฯ เป็นลำดับ 3 มีระดับความคาดหวัง พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ส่วนใหญ่อยู่ในระดับมากที่สุด การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของกลุ่มสาระฯ มีความระดับความคาดหวังมากที่สุด รองลงมา คือ การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของกลุ่มสาระฯ และการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในกลุ่มสาระฯ เป็นลำดับ 3 มีค่าดัชนีความต้องการจำเป็น พบว่า จัดทำรายงานผลการประเมินตนเองของกลุ่มสาระฯ มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด รองลงมา คือ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในกลุ่มสาระฯ และติดตามผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานของกลุ่มสาระฯ มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน และการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานของกลุ่มสาระฯ เป็นลำดับ 3 2. ผลการศึกษาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ของสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี พบว่า ผู้บริหารและคณะครู มีการวิเคราะห์สภาพบริบทของสถานศึกษา มีกำหนดมาตรฐานการศึกษา ตัวบ่งชี้ ประเด็นการพิจารณาที่เพิ่มเติม จากที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดเป็นการเฉพาะสำหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ขับเคลื่อนการดำเนินงานโดยแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ผ่านโครงการ กิจกรรมต่างๆ มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพ ตลอดจนติดตามผลการดำเนินงาน และเผยแพร่รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอย่างชัดเจน 3. การพัฒนาคู่มือการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศของโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ มี 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) วัตถุประสงค์ 2) ขอบเขตเนื้อหา 3) คำจำกัดความ 4) หน้าที่รับผิดชอบ 5) วิธีปฏิบัติ 6) เอกสารอ้างอิง 7) แบบฟอร์ม 8) แบบบันทึก มีผลการตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และผ่านเกณฑ์ที่ได้กำหนดไว้ทุกด้าน | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232089-ศุภจิต ศรีธิ.pdf | 12.69 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.