Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79822
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.advisorนันท์นภัส แสงฮอง-
dc.contributor.authorพิมพ์พินันท์ นิลประยูรen_US
dc.date.accessioned2024-07-19T09:52:00Z-
dc.date.available2024-07-19T09:52:00Z-
dc.date.issued2024-05-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79822-
dc.description.abstractThis independent study has three objectives. 1) To examine the current management practices for promoting career skills among disadvantaged students, 2) To identify management strategies for promoting career skills among disadvantaged students, and 3) To evaluate the effectiveness of the identified management strategies. The study comprises three phases: 1) Assessing the current management practices involving 36 school principals and teachers within the network center using questionnaires, 2) Identifying management strategies through targeted interviews with 5 selected school principals and experts, and 3) Evaluating the identified management strategies with a target group of 36 school principals, academic teachers, and subject teachers using a validation questionnaire. The result of the study found that overall management is at a moderate level. The area with the highest level of management is personnel management related to learning management. Guidelines for managing learning to promote career skills for disadvantaged students include. It is advisable to organize meetings to build knowledge and understanding of learning management that promotes career skills, especially for disadvantaged students, ensuring alignment with the school's context and the community. Meetings should aim to educate and clarify knowledge and understanding regarding the Professional Learning Community (PLC) process and the competencies of teaching staff in a community-based professional learning format. Planning should involve the development of projects/activities, media, and technologies that support learning aimed at enhancing career skills for disadvantaged students and planning should also include projects/activities that encourage the use of learning resources both within and outside the school environment. The validation results regarding the appropriateness and benefits of the management strategies for promoting career skills among disadvantaged students, it was found that they are overall at the highest level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพสันสลีศรีเวียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2en_US
dc.title.alternativeGuideline for learning administration to enhance vocational skills of underprivileged students at Sansalee Sri Wiang Network Development Center attached to Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 2en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการวางแผนการศึกษา -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashนักเรียน -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- กิจกรรมการเรียนการสอน-
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระ เรื่อง แนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพสันสลีศรีเวียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส 2) ศึกษาแนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส 3) ตรวจสอบแนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพสันสลีศรีเวียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 มี 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาสภาพการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ ฯ แหล่งข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียนและครูในศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพสันสลีศรีเวียง รวม 36 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม 2) การศึกษาหาแนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพ ฯ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบสัมภาษณ์ และ3) การตรวจสอบแนวทางการการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส ฯ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูวิชาการ ครูผู้สอนวิชาการงานฯ ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือ แบบตรวจสอบแนวทาง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาสภาพการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส ศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพสันสลีศรีเวียง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 พบว่าสภาพการบริหารโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีการบริหารมากที่สุดคือด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ แนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส คือควรจัดประชุมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะอาชีพโดยเฉพาะเพื่อนักเรียนด้อยโอกาส โดยมีความสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษากับชุมชน ควรประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและชัดเจนเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาวิชาชีพครูในรูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และสมรรถนะของครูผู้สอน ควรวางแผนจัดทำโครงการ/กิจกรรมสื่อและเทคโนโลยีที่ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส และ ควรวางแผนจัดทำโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ใช้แหล่งเรียนรู้ทั้งใน และนอกสถานศึกษา ผลการตรวจสอบความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ของแนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับนักเรียนด้อยโอกาส ฯ พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232100 พิมพ์พินันท์ นิลประยูร.pdf10.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.