Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79811
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชนิตว์ ลีนาราช-
dc.contributor.authorพินิจ อัศจรรย์en_US
dc.date.accessioned2024-07-19T01:08:49Z-
dc.date.available2024-07-19T01:08:49Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79811-
dc.description.abstractThe Purpose is study Using Behavior and Social Media Literacy Level of the Elderly in Chiang Mai Province. This quantitative research used a questionnaire. The population group is the elderly aged 60 years in Chiang Mai Province. To collect information from 384-person (100 %) werereturned. The data were analyzed using statistical measures such as percentage, mean and standard deviation. The results of the study social media usage behavior most elderly spend their time between 5:00 a.m. - 9:00 a.m. and have media use most time of 1 - 2 hours per day. Each time, the frequency of accessing social media was more than 1 hour per day. The place where most social media is used is within one's own home. Monthly expenses under 100 baht are at the highest level. The results of the study found that they are at the highest level. Elderly people use smartphones to communicate with family members at a high level (x ̅ = 4.41) and used to access social media through YouTube at a moderate level. (x ̅ = 2.99) The impact of social media use lies on the device side. (Internet connection is unstable) (37.20 %) Environmental aspect (Family member devices are not supported) (30.20 %) emotional and mental Performance (being entertained) (63.60 %) and health (blurry/impaired/changed vision) (34.26 %) The results of the study showed that overall, there was an average score Social Media Literacy Level of the Elderly in Chiang Mai Province at a moderate level (x ̅ = 3.24). When considering the results of measuring online literacy skills according to all 5 is Element 1 Access Skill, Element 2 Analyze Skill, Element 3 Evaluate Skill, Element 4 Create Skill and Element 5 Participate Skill. Overall study results found that the elements with the highest averages were ranked high is Element 2 Analyze Skill (x ̅ = 3.36) and Element 4 Create Skill (x ̅ = 3.34) The next rank is moderate have 3 elements is Element 3 Evaluate Skill (x ̅ = 3.21), Element 5 Participate Skill (x ̅ = 3.19) and Element 1 Access Skill (x ̅ = 3.12). The result of studying the quality of the tools by studying the difficulty values and the discriminatory values were found to be the overall difficulty finding (P) ranged from 0.40 to 0.59 it was found to be at a good level and from finding the discriminatory (r) the overall will be in the range 0.37 – 0.52 which is at a most good level to moderate level. It can be concluded of social media literacy level is good qualityen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมการใช้และการรู้เท่าทันสื่อสังคมของผู้สูงอายุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeUsage behavior and social media lteracy of the elderly in Mueang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการรู้เท่าทันสื่อ-
thailis.controlvocab.thashการรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ต-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้และการรู้เท่าทันสื่อสังคมของผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สัญชาติไทย จำนวน 381 คน รวบรวมแบบสอบถามได้ 381 ชุด (ร้อยละ 100) ซึ่งได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาด้านพฤติกรรมการใช้สื่อสังคม ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ใช้ช่วงเวลา 05.00 – 09.00 น. และระยะเวลาในการใช้สื่อส่วนใหญ่ คือ 1 – 2 ชั่วโมงต่อวัน ซึ่งในแต่ละครั้งมีความถี่ในการเข้าถึงสื่อสังคมมากกว่า 1 ชั่วโมงต่อวัน สถานที่ใช้สื่อออนไลน์ส่วนใหญ่จะเป็นภายในบ้านของตนเองมีค่าใช้จ่ายแต่ละเดือนน้อยกว่า 100 บาทอยู่ในระดับมากที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้สูงอายุใช้สมาร์ตโฟน เพื่อติดต่อสื่อสารกับคนในครอบครัวอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 4.41) และใช้สื่อสังคมประเภทยูทูปค่าเฉลี่ยสูงสุด ระดับปานกลาง (x ̅ = 2.99) ผลการศึกษาด้านผลกระทบของการใช้สื่อสังคมพบค่าเฉลี่ยสูงสุด ด้านอุปกรณ์ (สัญญาอินเทอร์เน็ตไม่เสถียร) (ร้อยละ 37.20) ด้านสภาพแวดล้อม (สมาชิกในครอบครัวไม่สนับสนุนอุปกรณ์) (ร้อยละ 30.20) ด้านอารมณ์และจิตใจ (การได้รับได้รับความบันเทิง) (ร้อยละ 63.60) และด้านสุขภาพ (อาการตาพล่ามัวจากการใช้สายตา/ สายตาผิดปกติหรือเปลี่ยนแปลง) (ร้อยละ 34.26) ผลศึกษาการรู้เท่าทันสื่อสังคมของผู้สูงอายุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่พบว่า ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (x ̅ = 3.24) เมื่อพิจารณาผลวัดทักษะการรู้เท่าทันสื่อสังคมตามทักษะทั้ง 5 พบว่า ทักษะที่ได้ค่าเฉลี่ยสูงสุดอยู่ในระดับมาก มี 2 ทักษะ คือ ทักษะที่ 2 ทักษะการวิเคราะห์ (Analyze Skill (x ̅ = 3.36) และทักษะที่ 4 ทักษะการสร้างสรรค์ (Create Skill) (x ̅ = 3.34) อันดับถัดมาอยู่ในระดับปานกลาง มี 3 ทักษะ คือ ทักษะที่ 3 ทักษะการประเมินสื่อ (Evaluate Skill) (x ̅ = 3.21) ทักษะที่ 5 ทักษะการมีส่วนร่วม (Participate Skill) (x ̅ = 3.19) และทักษะที่ 1 ทักษะการเข้าถึง (Access Skill) (x ̅ = 3.12) ผลการศึกษาคุณภาพของเครื่องมือโดยการศึกษาค่าความยากง่าย และค่าอำนาจจำแนกพบว่า การหาค่าความยากง่าย (P) ในภาพรวมอยู่ในช่วง 0.40 ถึง 0.59 พบว่าอยู่ในระดับใช้ได้ดี และจากการหาค่าอำนาจจำแนก (r) ภาพรวมอยู่ในช่วง 0.37 – 0.52 อยู่ในระดับดีพอสมควร - ดีมาก ถึงพอใช้ สรุปได้ว่า แบบวัดการรู้เท่าทันสื่อสังคมนี้มีคุณภาพระดับดีen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620132042_นายพินิจ อัศจรรย์.pdf14.55 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.