Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79809
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พนม กุณาวงค์ | - |
dc.contributor.author | นนทัช ปัญญาธนาธร | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-19T00:55:52Z | - |
dc.date.available | 2024-07-19T00:55:52Z | - |
dc.date.issued | 2567-06-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79809 | - |
dc.description.abstract | This study explores the development of a collaborative network among local government organizations, the private sector, and the public to address the stray dog problem at Wat Weluwanaram, Lampang Province. The objectives were: (1) to examine the process of forming a cooperative network to manage stray dogs, and (2) to assess the outcomes and provide recommendations for the issue at Wat Weluwanaram. Employing qualitative methods, the research involved in-depth interviews and non-participant observation with 12 key informants including the abbot of Wat Weluwanaram, government and local officials, veterinarians, and leaders from private organizations and community groups. The results reveal significant public safety and environmental concerns due to the stray dog issue. Effective resolution requires integrated efforts across governmental and private sectors. Proposed guidelines for network creation include: (1) establishing leadership from the public sector, (2) forming a multi-sectoral network that leverages existing relationships for greater impact, and (3) clearly defining the roles and responsibilities of each participant, ensuring the provision of necessary resources and personnel. Additionally, informants recommend the enactment of local animal registration laws and enhancing public education on responsible animal husbandry. Keywords: Creating Network, Local Government, Stray Dogs | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การสร้างเครือข่าย | en_US |
dc.subject | องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | en_US |
dc.subject | สุนัขจรจัด | en_US |
dc.subject | Creating Network | en_US |
dc.subject | Local Government | en_US |
dc.subject | Stray Dogs | en_US |
dc.title | แนวทางในการสร้างเครือข่ายระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชนและประชาชนในการแก้ไขปัญหาสุนัขจรจัดของ วัดเวฬุวนาราม จังหวัดลำปาง | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for creating networks among local government organizations the private and public sector in solving the problem of stray dogs of Weluwanaram temple, Lampang province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | สุนัขจรจัด -- ลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | สุนัข -- ลำปาง | - |
thailis.controlvocab.thash | องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ลำปาง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาเรื่อง แนวทางในการสร้างเครือข่ายระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชนและประชาชน ในการแก้ไขปัญหาสุนัขจรจัดของวัดเวฬุวนาราม จังหวัดลำปาง มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา ได้แก่ 1.เพื่อศึกษาหากระบวนการในการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการที่จะแก้ไขปัญหาสุนัขจรจัดในพื้นที่วัดเวฬุวนาราม จังหวัดลำปาง 2.เพื่อศึกษาหาผลลัพธ์และข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาสุนัขจรจัดในพื้นที่วัดเวฬุวนาราม จังหวัดลำปาง โดยที่ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีศึกษากับผู้ให้ข้อมูลได้แก่ เจ้าอาวาส วัดเวฬุวนารามภาครัฐ เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปศุสัตว์อำเภอ ข้าราชการในพื้นที่ ภาคเอกชนมูลนิธิ ภาคประชาชน ผู้ใหญ่บ้านและประชาชนในพื้นที่ และแอดมินกลุ่ม ลำปางซิตี้ จำนวนทั้งหมด 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ 1) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และ 2) การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัญหาสุนัขจรจัดเป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน ในเรื่องของอุบัติเหตุและสภาพแวดล้อมของคนในพื้นที่ และจำเป็นที่จะต้องมีหน่วยงานเข้ามาแก้ไขไม่ว่าจะเป็นภาครัฐและภาคเอกชน 2) แนวทางในการสร้างเครือข่ายที่จะเกิดขึ้นประกอบด้วย (1) การก่อตัวของงภาวะผู้นำที่มาจากภาคประชาชน (2) เครือข่ายตัวแสดงที่เข้ามาทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและประชาชนที่เข้ามาร่วมในการแก้ไขปัญหาสาธารณะ มีการทำงานและกับเครือข่ายที่ตนเองมีให้เกิดการทำงานเป็นวงกว้าง (3) บทบาทของแต่ละตัวแสดงที่เข้ามาต่างมีหน้าที่ของตนเองอย่างชัดเจน เช่น บุคลากร ทรัพยากรต่างๆที่จำเป็นในการที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหาสุนัขจรจัดของวัดเวฬุวนาราม และข้อเสนอแนะ จากผู้ให้ข้อมูลมีดังนี้ (1) การมีข้อบัญญัติท้องถิ่นเกี่ยวกับข้อกฎหมายและการลงทะเบียนสัตว์ (2) การสร้างการรับรู้ โดยเฉพาะภาคประชาชนในการที่จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ คำสำคัญ:การสร้างเครือข่าย, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, สุนัขจรจัด | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651932025-นนทัช ปัญญาธนาธร.pdf | 1.06 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.