Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79808
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรชนิตว์ ลีนาราช | - |
dc.contributor.author | รพีภัทร รินดวงดี | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-19T00:53:35Z | - |
dc.date.available | 2024-07-19T00:53:35Z | - |
dc.date.issued | 2567-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79808 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the opinions on the roles and competencies of librarians in Thailand's top higher educational institutions in tackling fake news on social media. This research was a quantitative in nature. The tool used for data collection was a questionnaire, data was collected from a population of 313 librarians working in libraries of 14 Thailand's top higher educational institutions. A total of 267 completed questionnaires were returned (85.30%). The data were analyzed using statistical measures such as percentage, mean, and standard deviation. The results of the study on the roles in dealing with fake news include teaching/training, services, and activities. Overall, the opinions are at a low level (¯x = 1.84). Librarians prioritized the role of teaching/training first, with an average at a low level (¯x = 2.05). Considering specific aspects, the top three highest averages are methods of observing fake news (¯x = 2.56), basic knowledge about fake news and its impacts (¯x = 2.19), and information literacy in evaluating fake news (¯x = 2.10). The next important role is information services in dealing with fake news, with an average at a low level (¯x = 1.98). Considering specific aspects, the top three highest averages are preparing guidelines to deal with fake news (¯x = 2.08), producing/publishing information related to fake news (¯x = 2.07), and collecting/recommending information about fake news (¯x = 2.04). The role of organizing activities is considered the least important, with the lowest average (¯x = 1.48). Considering specific aspects, the highest average is organizing academic activities to deal with fake news (¯x = 1.50) and library activities to deal with fake news (¯x = 1.46). The results of the study on competencies in dealing with fake news include knowledge, skills, and personal attributes. Overall, the opinions are at a high level (¯x = 4.48). Librarians prioritized two competencies equally: personal attributes in dealing with fake news and skills in dealing with fake news, both with the highest average (¯x = 4.61). Considering specific aspects of personal attributes, the highest averages are a positive attitude towards service (¯x = 4.64) and a service-minded attitude (¯x = 4.57). For skills in dealing with fake news, the top three highest averages are communication skills for teaching, training, service, and organizing activities (¯x = 4.71), skills in analyzing news using evaluation principles (¯x = 4.64), and critical thinking skills (¯x = 4.60). Additionally, librarians gave the least importance to the competency of knowledge in dealing with fake news, with an average at a high level (¯x = 4.23). The top three highest averages in this area are knowledge in organizing activities between organizations, experts, librarians, and users (¯x = 4.52), knowledge of methods to observe fake news (¯x = 4.26), and information literacy focusing on information evaluation (¯x = 4.23) | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | Fake News | en_US |
dc.subject | Fake News on Social Media | en_US |
dc.subject | Librarian's Competencies | en_US |
dc.title | ความคิดเห็นด้านบทบาทและสมรรถนะของบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำของไทยในการรับมือกับข่าวปลอมบนสื่อสังคมออนไลน์ | en_US |
dc.title.alternative | Opinions on the roles and competencies of librarians in Thailand's Top Higher Educational Institutions in tackling fake news on social media | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | บรรณารักษ์ -- สมรรถนะ | - |
thailis.controlvocab.thash | บรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา | - |
thailis.controlvocab.thash | สมรรถนะ | - |
thailis.controlvocab.thash | ข่าวปลอม | - |
thailis.controlvocab.thash | การรู้เท่าทันสื่อ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นด้านบทบาทและสมรรถนะของบรรณารักษ์ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำประเทศไทยในการรับมือกับข่าวปลอมบนสื่อสังคมออนไลน์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม โดยเก็บข้อมูลจากประชากร คือ บรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติงานในห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำประเทศไทย 14 แห่ง จำนวน 313 คน ได้แบบสอบถามกลับคืนมาทั้งหมด จำนวน 267 ชุด (ร้อยละ 85.30) ซึ่งได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาความคิดเห็นด้านบทบาทในการรับมือกับข่าวปลอมที่ได้ปฏิบัติ ประกอบด้วย การสอน/การอบรม การให้บริการ และการจัดกิจกรรม พบว่าในภาพรวมความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย (¯x = 1.84) โดยบรรณารักษ์ให้ความสำคัญกับการปฏิบัติบทบาทอันดับแรก คือ การสอน/การอบรม มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับน้อย (¯x = 2.05) เมื่อพิจารณารายด้านพบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ แนวทางการสังเกตข่าวปลอม (¯x = 2.56) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับข่าวปลอมและผลกระทบจากข่าวปลอม (¯(x )= 2.19) และการรู้สารสนเทศในประเด็นการประเมินข่าวปลอม (¯(x )= 2.10) รองลงมาให้ความสำคัญกับบทบาทด้านการบริการสารสนเทศในการรับมือกับข่าวปลอม มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับน้อย (¯x = 1.98) เมื่อพิจารณารายด้านพบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ การจัดทำคู่มือเพื่อรับมือกับข่าวปลอม (¯x = 2.08) การจัดทำ/เผยแพร่สารสนเทศที่เกี่ยวกับข่าวปลอม (¯(x )= 2.07) และการรวบรวม/แนะนำสารสนเทศเกี่ยวกับข่าวปลอม (¯(x )= 2.04) และให้ความสำคัญกับการปฏิบัติในบทบาทด้านการจัดกิจกรรมเป็นอันดับถัดมา โดยมีค่าเฉลี่ยในระดับน้อยที่สุด (¯x = 1.48) เมื่อพิจารณารายด้านพบค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การจัดกิจกรรมเชิงวิชาการในการรับมือกับข่าวปลอม (¯x = 1.50) และการจัดกิจกรรมห้องสมุดในการรับมือกับข่าวปลอม (¯(x )= 1.46) ผลการศึกษาความคิดเห็นด้านสมรรถนะในการรับมือกับข่าวปลอม ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ และคุณสมบัติส่วนบุคคล พบว่าในภาพรวมความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (¯x = 4.48) โดยบรรณารักษ์ให้ความสำคัญกับสมรรถนะอันดับแรกเท่ากัน จำนวน 2 ด้าน คือ คุณสมบัติส่วนบุคคลในการรับมือกับข่าวปลอมและทักษะในการรับมือกับข่าวปลอม มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.61 เท่ากัน) เมื่อพิจารณารายด้านในคุณสมบัติส่วนบุคคลส่วนบุคคลพบค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ทัศนคติที่ดีต่อการให้บริการ (¯x = 4.64) และการมีจิตบริการ (¯x = 4.57) เมื่อพิจารณารายด้านในส่วนของทักษะในการรับมือกับข่าวปลอมพบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ทักษะการสื่อสารเพื่อการสอน การอบรม การให้บริการ และการจัดกิจกรรม (¯x = 4.71) ทักษะการวิเคราะห์ข่าวโดยใช้หลักการประเมิน (¯x = 4.64) และทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (¯x = 4.60) นอกจากนี้บรรณารักษ์ยังให้ความสำคัญกับสมรรถนะด้านความรู้ในการรับมือกับข่าวปลอมเป็นลำดับสุดท้าย มีค่าเฉลี่ยรวมในระดับมาก (¯x = 4.23) เมื่อพิจารณารายด้านพบค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ความรู้ในการจัดกิจกรรมระหว่างองค์กร ผู้เชี่ยวชาญ บรรณารักษ์ และผู้ใช้ (¯x = 4.52) ความรู้ในแนวทางการสังเกตข่าวปลอม (¯x = 4.26) และการรู้สารสนเทศโดยเน้นการประเมินสารสนเทศ (¯x = 4.23) | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RAPHIPHAT-620132044.pdf | 5.27 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.