Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79807
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อุดมโชค อาษาวิมลกิจ | - |
dc.contributor.author | ชัญญานุชา สิงห์เงิน | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-19T00:49:04Z | - |
dc.date.available | 2024-07-19T00:49:04Z | - |
dc.date.issued | 2024-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79807 | - |
dc.description.abstract | The independent study titled "The Efficiency of the Electronic Document Management System at Yang Noeng Subdistrict Municipality, Saraphi District, Chiang Mai Province" aims to investigate the operational efficiency of the electronic document management system within the Yang Noeng Subdistrict Municipality. The objectives of this research are 1) explaining the level of efficiency in using the system, 2) analyzing factors affecting efficiency, and 3) explaining problems and obstacles along with suggestions for using the said system. Theoretical concepts used in this study are e-government, management information systems, and electronic document management systems at both the national and local levels. Employing a quantitative research approach. The study involved a sample of 80 Yang Noeng Subdistrict Municipality staff members. Data was gathered through questionnaires regarding the efficiency of using the electronic document system and analyzed using descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation as well as inferential statistics including one-way ANOVA. The results of the study found that 1) Most system users were satisfied at a high level with the system's performance, especially in terms of ease of use 2) Demographic factors Department affiliation Affects the level of efficiency in using the electronic document system. and behavioral factors in accessing the electronic document system. The duration of using the system and the aspect of learning to use Affects the level of efficiency in using the document system. Statistically significant 3) Problems, obstacles, and suggestions encountered from using the electronic document system is to limit the size of files that can be uploaded. and sending original documents along with using the electronic system. Suggestions include that the organization should increase efficiency including continuous development of the system by experts. and additional training for operators according to system changes. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของเทศบาลตำบลยางเนิ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Efficiency of electronic document system in Yang Noeng Subdistrict Municipality, Saraphi District, Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | เทศบาลตำบลยางเนิ้ง-- งานสารบรรณ | - |
thailis.controlvocab.thash | งานสารบรรณ -- การประมวลผลข้อมูล | - |
thailis.controlvocab.thash | ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “ประสิทธิภาพการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ของเทศบาลตำบลยางเนิ้ง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) อธิบายระดับของประสิทธิภาพการใช้งานระบบ 2) วิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับประสิทธิภาพ 3) อธิบายปัญหาอุปสรรคพร้อมข้อเสนอแนะในการใช้งานระบบดังกล่าว แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการศึกษาคือ รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ และระบบงานสารบรรณภาครัฐและท้องถิ่น วิธีการวิจัยเป็นเชิงปริมาณ โดยมีกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยบุคลากรเทศบาลตำบลยางเนิ้งจำนวน 80 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิภาพการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยอาศัยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานพร้อมกับสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (ANOVA) ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ใช้ระบบส่วนใหญ่พึงพอใจในระดับมากต่อประสิทธิภาพของระบบ โดยเฉพาะในด้านความสะดวกในการใช้งาน 2) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ด้านสังกัดหน่วยงาน มีความสัมพันธ์กับระดับประสิทธิภาพการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ และปัจจัยด้านพฤติกรรมการเข้าใช้ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ด้านระยะเวลาในการใช้งานระบบ และด้านลักษณะการเรียนรู้การใช้งาน มีความสัมพันธ์กับระดับประสิทธิภาพการใช้งานระบบสารบรรณ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะที่พบจากการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ คือ การจำกัดขนาดไฟล์ที่สามารถอัปโหลดได้ และการส่งเอกสารต้นฉบับควบคู่ไปกับการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ องค์กรควรเพิ่มประสิทธิภาพรวมถึงการพัฒนาระบบโดยผู้เชี่ยวชาญอย่างต่อเนื่อง และการอบรมเพิ่มเติมแก่ผู้ปฏิบัติงานตามการเปลี่ยนแปลงของระบบ | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651932031 ชัญญานุชา สิงห์เงิน.pdf | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.