Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79797
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTinakon Wongpakaran-
dc.contributor.advisorNahathai Wongpakaran-
dc.contributor.advisorDanny Wedding-
dc.contributor.authorChang, Yuen_US
dc.date.accessioned2024-07-18T01:26:02Z-
dc.date.available2024-07-18T01:26:02Z-
dc.date.issued2024-05-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79797-
dc.description.abstractParents of children with autism spectrum disorders often undergo psychological distress, impacting the quality of childcare. Screening for psychiatric symptoms among these parents is crucial. The Core Symptom Index (CSI) is widely used to assess general symptoms like depression, anxiety, and somatic symptoms, showing validity and reliability in various populations. However, there is limited research on the validity and reliability of the CSI in the general Chinese population. This study aimed to examine the psychometric properties of the Chinese version of the CSI among parents of children with autism spectrum disorders using Confirmatory Factor Analysis (CFA). Methods: A total of 794 Chinese parents raising children with autism participated in this study. All completed the CSI along with the social inhibition subscale of the Interpersonal Problems Inventory and the Couple Satisfaction Index. Factorial validity was conducted using CFA, hypothesizing a first-order three-factor solution model to fit the data. Various structural models were compared using model fit indices. Convergent and discriminant validity were tested by structural equation modeling and exploring correlations with the social inhibition subscale and the Couple Satisfaction Index. Invariance testing of the CSI was conducted across multiple groups of genders, ages, and educations using CFA. The reliability of the CSI was examined by McDonald’s omega coefficients (Ω) and composite reliability using CFA. Results: The first-order 3-factor solution showed adequate model fit indices ([chi2 = 667.659 (df = 85, N = 794, p ≤ .000)]; CFI = 0.93; TLI = .914 RMSEA = 0.093; SRMR = .050). However, the bifactor model appeared to be the best-fitted model for the data, indicating that the total score of the CSI could represent overall psychiatric symptoms. The CSI significantly correlated with the social inhibition subscale (r = 0.412, p < 0.001), with smaller correlation coefficients with the Couple Satisfaction Index (r = -0.161**, p < 0.001), indicating established convergent and discriminant validity. However, discriminant validity using the structural equation model was not confirmed, as the anxiety and depression dimensions appeared indistinguishable. The Chinese version of the CSI demonstrated high consistency (overall scale: Ω = 0.95; depression: Ω = 0.86; anxiety: Ω = 0.90; somatization: Ω = 0.90). Invariant tests supported scalar invariance levels based on gender and age but only partial invariance for education. Conclusion: Psychometric properties indicate that the Chinese version of the CSI is reliable and valid, making it suitable for measuring depression, anxiety, and somatization symptoms among parents of children with autism spectrum disorders. Further research on other Chinese populations is encouraged.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectKeywords: psychometric property, factor structure, validity, reliability, measurement, depression, anxiety, somatizationen_US
dc.titlePsychometric property of the Chinese version of the core symptom indexen_US
dc.title.alternativeคุณสมบัติทางจิตมิติของคอร์ซิมทอมอินเด็กซ์ฉบับภาษาจีนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPsychometric-
thailis.controlvocab.lcshAutism in children -- Care-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ปกครองของเด็กที่มีโรคออทิสติกสเปกตรัมมักประสบกับความทุกข์ใจ ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพการดูแลเด็ก การคัดกรองอาการทางจิตเวชของผู้ปกครองจึงเป็นสิ่งสำคัญ คอร์ซิมทอมอินเด็กซ์ หรือ แบบสอบถามดัชนีอาการหลัก (Core Symptom Index -CSI) เป็นเครื่องมือที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการประเมินอาการทั่วไป เช่น ภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล และอาการทางร่างกาย ผลการศึกษาได้แสดงให้เห็นถึงความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของเครื่องมือดังกล่าวทั้งในประชากรทางคลินิกและไม่ใช่ทางคลินิก อย่างไรก็ตาม มีงานวิจัยจำกัดเกี่ยวกับความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของแบบสอบถามดัชนีอาการหลักในประชากรทั่วไปชาวจีน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติทางจิตวิทยาของแบบสอบถามดัชนีอาการหลัก ฉบับภาษาจีนในผู้ปกครองของเด็กที่มีความผิดปกติของออทิสติกสเปกตรัม โดยใช้การวิเคราะห์ปัจจัยยืนยัน (Confirmatory factor analysis-CFA) วิธีการศึกษา: อาสาสมัครชาวจีนที่เป็นพ่อแม่ของเด็กออทิสติกรวมทั้งสิ้นจำนวน 794 คนเข้าร่วมในการศึกษาครั้งนี้ อาสาสมัครทุกคนได้ทำแบบสอบถาม แบบสอบถามดัชนีอาการหลัก แบบสอบถามการหลีกเลี่ยงสังคม (social inhibition) และ แบบสอบถาม ดัชนีความพึงพอใจในชีวิตคู่ (couple satisfaction index) ความถูกต้องเชิงโครงสร้างได้รับการทดสอบด้วย CFA โดยมีสมมุติว่ารูปแบบโครงสร้างแบบสามองค์ประกอบ (a first-order three-factor solution model) จะอธิบายได้ อย่างไรก็ตามรูปแบบโครงสร้างอย่างอื่นก็จะมีการนำมาเปรียบเทียบโดยการใช้ดัชนีความสอดคล้องของโมเดล (model fit indices) ความถูกต้องแบบลู่เข้าหากัน (convergent and discriminant) และแบบแตกต่างกันก็ได้รับการทดสอบ ด้วยวิธีโมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling) และ แบบหาความสัมพันธ์กับแบบสอบถาม แบบสอบถามการหลีกเลี่ยงสังคม และ แบบสอบถาม ดัชนีความพึงพอใจในชีวิตคู่ มีการศึกษาความไม่ผันแปรของแบบสอบถามดัชนีอาการหลัก ต่อเพศ อายุ การศึกษา ความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถามดัชนีอาการหลักได้รับการประเมินโดยการหาค่า McDonald’s omega coefficients (Ω) และ composite reliability ด้วยการใช้ CFA. ผลลัพธ์: รูปแบบโครงสร้างแบบสามองค์ประกอบพบว่าเป็นแบบจำลองที่ดีพอ (chi-square = 667.659 (degree of freedom = 85, p ≤ .000)]; Comparative Fit Index (CFI) = 0.93; Tucker-Lewis Index (TLI)= 0.914 Root Mean Square of Estimate Approximation (RMSEA) = 0.093; Standardized Root Mean Residual = 0.050. อย่างไรก็ตาม รูปแบบไบแฟคเตอร์เป็นรูปแบบจำลองที่อธิบายได้ดีที่สุด แสดงถึงว่า แบบสอบถามดัชนีอาการหลักสามารถใช้คะแนนรวมเพื่อบอกภาพรวมของอาการทางจิตเวชได้ แบบสอบถามดัชนีอาการหลักมีความเกี่ยวข้องอย่างมีนัยสำคัญกับการหลีกเลี่ยงสังคม (r = 0.412, p < 0.001) แต่มีขนาดความสัมพันธ์กับดัชนีความพึงพอใจในชีวิตคู่ที่น้อย (r = -0.161**, p < 0.001) ซึ่งบ่งชี้ถึงความถูกต้องแบบลู่เข้าหากันและแบบแตกต่างกัน อย่างไรก็ตามเมื่อมีการทดสอบความถูกต้องแบบลู่เข้าหากันและแบบแตกต่างกันด้วยโมเดลสมการโครงสร้างก็พบว่าความถูกต้องของความแตกต่าง (discriminant validity) ไม่ได้การรับรองเนื่องจากปัจจัยด้านความวิตกกังวลและปัจจัยด้านซึมเศร้าไม่สามารถแยกจากกันได้เด็ดขาด แบบสอบถามดัชนีอาการหลักฉบับภาษาจีนได้แสดงให้เห็นถึงความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในระดับสูง (ระดับโดยรวม: Ω = 0.946; ความซึมเศร้า: Ω = 0.863; ความวิตกกังวล: Ω = 0.897; อาการทางร่างกาย Ω = 0.897) การทดสอบความไม่ผันแปรระหว่างเพศ อายุ การศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่สนับสนุนความคงที่ในระดับสเกลาร์ (∆CFI ≤ 0.01, ∆TLI ≤ 0.01, ∆RMSEA < 0.015). สรุป: คุณสมบัติทางจิตมิติบ่งชี้ว่าแบบสอบถามดัชนีอาการหลักฉบับภาษาจีนมีความน่าเชื่อถือและถูกต้อง ทำให้เหมาะสำหรับการวัดภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล และอาการทางร่างกายในผู้ปกครองของเด็กที่มีความผิดปกติของออทิสติกสเปกตรัม การวิจัยในประชากรจีนกลุ่มอื่น ๆ ควรจะได้มีการศึกษาในภายภาคหน้าen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
652835816 - Yu Chang .pdfPsychometric Property of the Chinese Version of the Core Symptom Index1.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.