Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79789
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อลงกต ลิ้มเจริญ แก้วโชติช่วงกูล | - |
dc.contributor.author | พาณิภัค สุขสงวน | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-17T01:31:32Z | - |
dc.date.available | 2024-07-17T01:31:32Z | - |
dc.date.issued | 2567-06-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79789 | - |
dc.description.abstract | Inventory Management is considered to be very important in driving business organizations because efficient inventory management can help control raw materials, which are part of the organization's costs. Nowadays, technology is widely used as a tool for inventory management systems. This study focuses on managing the total cost of raw materials inventory by analyzing and determining the ordering method. By grouping the raw materials using the ABC Analysis technique and analyzing the demand characteristics of raw material with the variation coefficient (VC), it was found that raw materials in Group A and Group B with constant demand characteristics, would have the ordering pattern determined by the Economic Order Quantity method. On the other hand, the raw materials with non-constant demand characteristics, would be analyzed using the Heuristic method to determine the appropriate ordering pattern. Group A and Group B would be analyzed using the Silver-Meal, Least Unit Cost, and Part-Period Balancing. Group C would be analyzed using Two-bin and Lot for Lot. Subsequently, the analysis would determine the safety stock level and reorder points to prevent raw material shortage. Then, the total cost of inventory management would be analyzed and compared with the actual total cost incurred from October 2020 to September 2022. The results show that after improving efficiency, the total cost of raw materials inventory management decreased from 3,474,463.84 Baht to 3,060,773.57 Baht, a reduction of 413,690.27 Baht or 11.91%. Additionally, this research developed an inventory management system via the Google AppSheet platform to serve as an automated tool, replacing the traditional operation system for the case study company. The application increased convenience and speed by reducing operational steps and can be used by general employees without requiring specialized expertise. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การพัฒนาระบบการจัดการวัตถุดิบคงคลังสำหรับการผลิตถุงพลาสติก | en_US |
dc.title.alternative | Development of inventory management system for plastic bag production | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมสินค้าคงคลัง | - |
thailis.controlvocab.thash | สินค้าคงคลัง | - |
thailis.controlvocab.thash | ถุงพลาสติก | - |
thailis.controlvocab.thash | อุตสาหกรรมถุงพลาสติก | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การจัดการสินค้าคงคลังถือว่ามีความสำคัญอย่างมากในการขับเคลื่อนองค์กรธุรกิจ เนื่องจากการจัดการสินค้าคงคลังที่มีประสิทธิภาพจะสามารถช่วยควบคุมวัตถุดิบซึ่งเป็นต้นทุนขององค์กรได้ อีกทั้งปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำหรับระบบการจัดการสินค้าคงคลังอย่างกว้างขวางอีกด้วย โดยการค้นคว้าอิสระนี้มุ่งเน้นการจัดการต้นทุนรวมของวัตถุดิบคงคลังด้วยการวิเคราะห์การกำหนดวิธีการสั่งซื้อของวัตถุดิบ จากการจัดกลุ่มวัตถุดิบด้วยเทคนิค ABC Analysis และการวิเคราะห์หาลักษณะความต้องการของวัตถุดิบด้วยค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (VC) พบว่ามีวัตถุดิบกลุ่ม A และกลุ่ม B ที่มีลักษณะความต้องการแบบคงที่ จะกำหนดรูปแบบการสั่งซื้อด้วยวิธีปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด และวัตถุดิบที่มีลักษณะความต้องการแบบไม่คงที่ทำการวิเคราะห์ด้วยวิธี ฮิวริสติกส์เพื่อกำหนดรูปแบบการสั่งซื้อที่เหมาะสม โดยแบ่งออกเป็นกลุ่ม A และกลุ่ม B ทำการวิเคราะห์ด้วยวิธี Silver-Meal วิธี Least Unit Cost และวิธี Part-Period Balancing กลุ่ม C ทำการวิเคราะห์ด้วยวิธี Two-bin และวิธี Lot for Lot จากนั้นทำการวิเคราะห์หาปริมาณวัตถุดิบคงคลังสำรองและจุดสั่งซื้อใหม่เพื่อป้องกันปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ แล้ววิเคราะห์หาต้นทุนรวมของการจัดการวัตถุดิบคงคลังเพื่อเปรียบเทียบกับต้นทุนรวมที่เกิดขึ้นจริงด้วยข้อมูลเดือนตุลาคม พ.ศ.2563 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2565 พบว่าหลังการปรับปรุงประสิทธภาพทำให้ต้นทุนรวมของการจัดการวัตถุดิบคงคลังลดลงจาก 3,474,463.84 บาท เหลือ 3,060,773.57บาท หรือลดลง 413,690.27 บาท คิดเป็นร้อยละ 11.91 นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังพัฒนาระบบการจัดการวัตถุดิบคงคลังผ่านแพลตฟอร์มกูเกิลแอปชีต (Google AppSheet) เพื่อใช้เป็นเครื่องมืออัตโนมัติที่ช่วยในการจัดการวัตถุดิบคงคลังของบริษัทกรณีศึกษาแทนระบบการดำเนินงานแบบเดิม พบว่าแอปพลิเคชันสามารถเพิ่มความสะดวกและรวดเร็วมากขึ้นโดยการลดขั้นตอนการดำเนินงาน รวมถึงสามารถใช้งานโดยพนักงานทั่วไปได้โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยความชำนาญเฉพาะด้าน | en_US |
Appears in Collections: | ENG: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620632032-พาณิภัค สุขสงวน.pdf | 7.01 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.