Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79786
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุบัน พรเวียง | - |
dc.contributor.advisor | มนต์นภัส มโนการณ์ | - |
dc.contributor.author | ปาณิศา ทองล้วน | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-17T01:21:25Z | - |
dc.date.available | 2024-07-17T01:21:25Z | - |
dc.date.issued | 2567-05-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79786 | - |
dc.description.abstract | The aims of this study were to investigate the conditions and needs in cooperative learning management to enhance educational outcomes, as well as to explore and evaluate the effectiveness of the guidelines for cooperative learning management. The study included a total of 125 participants, comprising school administrators and teachers from small pilot schools in the Chiang Mai Education Sandbox. The group providing data consisted of 17 qualified individuals. Data collection tools for this study included questionnaires, group discussion records, and a guidelines assessment form. Data analysis involved the use of percentages, averages, standard deviations, and content analysis. The study findings 1) Conditions in cooperative learning management to enhance educational outcomes are moderate overall. They are ranked in descending order of average values as follows: collaboration in practice, collaborative goal setting, collaborative assessment and monitoring, collaborative planning, relationship-building collaboration, and collaborative decision-making. The need for cooperation in learning management is generally high. The ranking of needs, in descending order of average values, is as follows: collaboration in practice, collaborative assessment and monitoring, relationship-building collaboration, collaborative planning, collaborative goal setting, and collaborative decision-making. 2) Guidelines for cooperative learning management to enhance educational outcomes were as follows: 2.1) Understanding and adhering to the Educational Innovation Area Act of 2019 together. 2.2) Linking and understanding contextual needs to ensure alignment with stakeholder requirements. 2.3) Creating an inclusive environment for genuine input. 2.4) Establishing Memorandums of Understanding (MOUs) to promote successful educational management. 2.5) Clarifying performance indicators and assessment criteria for effective learning outcomes. And 2.6) Fostering a supportive environment to stimulate creative thinking for all stakeholders. 3) The validity of guidelines for cooperative learning management to enhance educational outcomes is predominantly highest, with overall suitability, feasibility, and benefits also rated high. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | แนวทางการสร้างความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของสถานศึกษานำร่องขนาดเล็ก พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for cooperative learning management to enhance educational outcomes for small pilot schools, Chiang Mai Education sandbox | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้แบบผสมผสาน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | สถานศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารการศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพและความต้องการความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา 2) ศึกษาแนวทางการสร้างความร่วมมือใน การจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา และ 3) ตรวจสอบแนวทางการสร้างความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของสถานศึกษานำร่อง ขนาดเล็ก พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริหาร และครูสถานศึกษานำร่องขนาดเล็กพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 125 คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1) สภาพความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ฯ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เรียงลำดับสภาพที่มีค่าเฉลี่ยมากไปน้อย มีดังนี้ ด้านการร่วมปฏิบัติ ด้านการร่วมกำหนดเป้าหมาย ด้านการร่วมประเมินติดตามผล ด้านการร่วมวางแผน ด้านการร่วมสร้างความสัมพันธ์ และด้านการร่วมตัดสินใจ ความต้องการความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ฯ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับความต้องการที่มีค่าเฉลี่ยมากไปน้อย มีดังนี้ ด้านการร่วมปฏิบัติ ด้านการร่วมประเมินติดตามผลด้านการร่วมสร้างความสัมพันธ์ ด้านการร่วมวางแผน ด้านการร่วมกำหนดเป้าหมาย และด้านการร่วมตัดสินใจ 2) แนวทางการสร้างความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ฯ คือ 1) การทำความเข้าใจเจตนารมณ์ของพรบ.พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ร่วมกัน 2) การเชื่อมโยงและทำความเข้าใจความต้องการตามบริบทพื้นที่ให้เป็นไปตามความต้องการและความจำเป็น 3) การสร้างบรรยากาศที่เปิดกว้างและเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นอย่างแท้จริง 4) การสร้างข้อตกลงร่วมกันในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ 5) การสร้างความเข้าใจ กำหนดตัวชี้วัด และเกณฑ์การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ชัดเจน และ 6) การสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนและกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ 3) ผลการตรวจสอบความถูกต้องของแนวทางการสร้างความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้ฯ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650232073 ปาณิศา ทองล้วน.pdf | 35.83 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.