Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79781
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.authorอารวีร์ อดิเรกen_US
dc.date.accessioned2024-07-17T00:59:51Z-
dc.date.available2024-07-17T00:59:51Z-
dc.date.issued2567-05-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79781-
dc.description.abstractThis research aims to: (1) extract lessons for advancing teachers' professional development, and (2) create and validate guidelines for promoting teachers professional progression attached to the Secondary Educational Service Area Office Kamphaeng Phet. The target group consisted of 25 individuals, including civil servant teachers, school administrators, educational administrators, educational supervisors, and personnel involved in promoting professional advancement. These participants were selected through purposive sampling. The study employed lesson extraction interviews to develop teachers' professional advancement and validated (draft) guidelines for promoting teachers professional progression with the help of seven experts. These experts, also selected through purposive sampling, included civil servant teachers, educational administrators, educational supervisors, and personnel from the professional advancement promotion office. A focus group discussion was used to verify the (draft) guidelines, and the Index of Item-Objective Congruence (IOC) ranged between 0.8 and 1.00. Data were analyzed using Content Analysis based on the research framework. The research findings revealed that: 1) The successful extraction of lessons for advancing teachers' professional development encompasses five key elements: (1) reasons or motivations influencing professional progression (2) factors promoting professional progression (3) limitations or challenges affecting professional progression (4) conditions for successful progression and (5) additional recommendations for promoting professional development. 2) Guidelines for promoting teachers professional progression was grounded in the principle of “Teacher quality leads to learning outcomes” and have two primary objectives: 1) to enable teachers to enhance instructional management skills to improve student quality and 2) to enable teachers to apply the outcomes of enhanced student quality to further their professional development. These guidelines was divided into two approaches: the guidelines development of professional progression, for teacher and the guidelines promotion of professional progression, for administrator. They consist of five components: (1) principles (2) methodologies (3) stakeholder roles (4) limitations or challenges affecting professional progression and (5) conditions for successful progression. The overall examination of the guidelines reveals deemed highly suitability, possibility, and usefulness. The key points of each approach are summarized as follows: 2.1) The guidelines development of professional progression were based on the core principles of “Focus on Classroom” and “Teacher as a Key Success”. Teachers must develop themselves and their profession to enhance student learning outcomes. This involves creating and refining lesson plans, conducting classroom research, and implementing innovative learning strategies. This process should be supported by fellow teachers, professional peers, and other stakeholders. 2.2) The guidelines promotion of professional progression were based on the core principles of “Back to School” and “School as an Organization”. School administrators, educational administrators, and educational supervisors must foster and support teachers' professional growth. This support should encompass the entire process, from planning and implementation to evaluation and continuous improvement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชรen_US
dc.title.alternativeGuidelines for promoting teacher professional progression attached to the secondary educational service area office Kamphaeng Pheten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashครู -- กำแพงเพชร-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาอาชีพ -- กำแพงเพชร-
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นมัธยม -- กำแพงเพชร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อถอดบทเรียนในการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู และ 2) เพื่อสร้างและตรวจสอบแนวทางการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากำแพงเพชร กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ข้าราชการครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู จำนวน 25 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยใช้แบบสัมภาษณ์ถอดบทเรียนในการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู และตรวจสอบ (ร่าง) แนวทางการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครูจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ข้าราชการครู ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ และเจ้าหน้าที่งานส่งเสริมวิทยฐานะ โดยใช้แบบสนทนากลุ่มเพื่อตรวจสอบ (ร่าง) แนวทางการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู ซึ่งผ่านการหาค่าความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.8-1.00 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ตามกรอบแนวคิดของการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1) การถอดบทเรียนการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพครูที่ประสบความสำเร็จ ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) เหตุผล/แรงจูงใจที่ส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู (2) ปัจจัยที่ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู (3) ข้อจำกัด/อุปสรรคที่ส่งผลต่อความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู (4) เงื่อนไขความสำเร็จที่ส่งผลต่อความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู และ (5) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู 2) แนวทางการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู มีหลักการสำคัญ คือ “คุณภาพครูสู่ผลลัพธ์ของการเรียนรู้” โดยมีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ ให้ครูสามารถพัฒนาตนเองด้านการจัดเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และให้ครูสามารถนำผลที่ได้จากการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมาสู่การพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง ได้แก่ แนวทางการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู สำหรับครู และแนวทางการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู สำหรับผู้บริหาร มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) หลักการ (2) วิธีการ/กระบวนการ (3) บทบาทของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (4) ข้อจำกัด/อุปสรรค และ (5) เงื่อนไขความสำเร็จ และผลการตรวจสอบแนวทาง พบว่า ทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุด โดยสรุปสาระสำคัญของแต่ละแนวทางได้ดังนี้ 2.1) แนวทางการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู มีหลักการสำคัญ คือ Focus on Classroom และ Teacher as a Key Success ครูต้องพัฒนาตนเองและวิชาชีพ เพื่อพัฒนาผู้เรียน ด้วยการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน และนวัตกรรมการเรียนรู้ โดยได้รับการสนับสนุนจากเพื่อนครู เพื่อนร่วมวิชาชีพ อีกทั้งผู้มีส่วนได้เสีย 2.2) แนวทางการส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาชีพครู มีหลักการสำคัญ คือ Back to school และ School as an Organization ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์จะต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูเกิดความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ตั้งแต่กระบวนการวางแผน การปฏิบัติงาน การตรวจสอบ ตลอดจนการพัฒนางานen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232097-อารวีร์ อดิเรก.pdf6.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.