Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิชญลักษณ์ พิชญกุล-
dc.contributor.authorณหทัย คุณประดิษฐ์en_US
dc.date.accessioned2024-07-15T09:56:18Z-
dc.date.available2024-07-15T09:56:18Z-
dc.date.issued2024-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79763-
dc.description.abstractThis study aims to investigate the management guideline of Green Hotels in Chiang Mai Province in order to provide practical recommendations that hotels and other relevant businesses can utilize and implement these guidelines into their operations. The results of the study were obtained through the interviewing of five hotel representatives who were chosen from a list of hotels that the Ministry of Natural Resources and Environment, Department of Environmental Quality Promotion had guaranteed to be a part of all Green Hotels in Chiang Mai in the previous year. Concepts and theories of Green Hotels were utilized to create an interview form which was divided into four sections, including (1) general information (2) management guideline of Green Hotels in seven categories (3) future hotel policies or initiatives that hoteliers would like to see implemented more frequently in the following years and (4) recommendations The findings demonstrated that all hotels involved in the Green Hotels initiative operated by the Ministry of Natural Resources and Environment, Department of Environmental Quality Promotion, can set up clear service guidelines and management strategies that completely correspond with the seven categories of Green Hotels Standards as follows. Under the first category “Green Hotels Policies,” all hotels currently use glass bottles instead of plastic bottles and all personnel are capable of sorting wastes. The second category “Personnel Development,” all hotels always schedule staff meetings correspondence to Green Hotels guidelines. The third category “Public Relation Campaigns,” all hotels provide information to customers via online and offline platforms to enlighten about environmental issues. The fourth category “Green procurements,” all hotels select and use eco-friendly resources within their operations. The fifth category, all hotels utilize reused water from wastewater treatment for tasks such as tree watering and cleaning public areas. The sixth category, all hotels always participate in social and community activities such as planting trees and attending religious ceremony. The seventh category, all hotels give their patrons the opportunity to submit satisfaction surveys both online and offline platforms for evaluation and feedback. The researcher has provided recommendations for hotels and other relevant businesses that aim to include these prerequisites within their operations. The first recommendation is that hoteliers should work and cooperate with executive teams to establish precise rules for Green Hotels practices such as financial usage, hotel operations, and process adaption. The second recommendation is for hoteliers to enhance their operations in line with the seven categories of Green Hotels standards. Under the first category, "Green Hotels policies," hotels are required to develop clear policies and convey all pertinent data to all relevant departments. The second category “Personnel Development,” hotel operators should continuously schedule staff meetings pertaining to Green Hotels’ practices. Under the third category “Public Relations Campaigns,” hotels ought to develop and showcase a "Go Green" concept within an organization. The fourth category “Green procurements,” hotels must utilize and promote local products which are made in the northern region. The fifth category “Hotels’ management of Environment and Power,” hotel operators should consider installing a waste water treatment pond on hotel property if their funding is sufficient. The sixth category “Community Involvement,” hotels ought to participate in neighborhood activities such as tree planting and supporting local products. For the seventh category “Evaluation of Green Hotels practices,” hotel operators should arrange meetings with an aim to assess about Green Hotel practices and exchange perspectives among all staff members.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการจัดการของโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeManagement guideline of green hotels in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงแรม-
thailis.controlvocab.thashกฎหมายสิ่งแวดล้อม-
thailis.controlvocab.thashโรงแรม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการของโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อทราบถึงแนวทางการจัดการของโรงแรม และเพื่อให้ธุรกิจสามารถนำแนวทางที่ได้รับจากการศึกษาไปปรับใช้ภายในองค์กรของตน โดยผู้ศึกษาได้รวบรวมข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึก ร่วมกับผู้ประกอบการโรงแรม จำนวน 5 แห่ง โดยคัดเลือกจากสถานประกอบการโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Hotels) ในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้รับการรับรองจากโครงการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเภทโรงแรม โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบัน โดยผู้ศึกษาได้พัฒนาแบบสัมภาษณ์เชิงลึก โดยอ้างอิงจากแนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Hotels) ซึ่งแบ่งข้อมูลประกอบการสัมภาษณ์ออกเป็นทั้งหมด 4 ส่วน ประกอบด้วย (1) ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจหรือสถานประกอบการ (2) แนวทางการจัดการของโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Hotels) 7 หมวด (3) แนวโน้มหรือสิ่งที่จะทำต่อไปในอนาคต และ (4) ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ผลการศึกษาพบว่า ภายใต้เกณฑ์การบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการโรงแรม ทั้งหมด 7 หมวด ทุกโรงแรมที่ได้เข้าร่วมโครงการ การบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเภทโรงแรม โดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม สามารถกำหนดแนวทางการให้บริการและการบริหารจัดการภายในองค์กรให้เป็นไปตามเกณฑ์การบริการทั้งหมดได้อย่างครบถ้วน อาทิ ภายใต้หมวดที่ 1 นโยบายด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พบว่า ทุกโรงแรมใช้ขวดแก้วทดแทนการใช้ขวดพลาสติก รวมถึงมีการการคัดแยกขยะอย่างสม่ำเสมอ หมวดที่ 2 การพัฒนาบุคลากร ทุกโรงแรมมีการจัดประชุม ร่วมกับพนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อมุ่งเน้นและให้ความสำคัญในด้านของสิ่งแวดล้อม หมวดที่ 3 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ทุกโรงแรมมีการแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมให้กับลูกค้าอย่างต่อเนื่อง ผ่านช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ หมวดที่ 4 การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทุกโรงแรมมีการคัดสรรและเลือกใช้วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งภายในห้องพักและพื้นที่ส่วนรวมของโรงแรม หมวดที่ 5 การจัดการสิ่งแวดล้อมและพลังงาน ทุกโรงแรมนำน้ำเสียที่ได้รับการบำบัดกลับเข้ามาใช้ประโยชน์ภายในโรงแรม เช่น การรดน้ำต้นไม้ หรือการทำความสะอาดพื้นที่สาธารณะ หมวดที่ 6 การมีส่วนร่วมร่วมกับท้องถิ่นและชุมชน ทุกโรงแรมร่วมและส่งเสริมกิจกรรมที่มีความเกี่ยวเนื่องกับสังคมและชุมชนอย่างสม่ำเสมอ เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมปลูกป่า และกิจกรรมทางประเพณี และหมวดที่ 7 การประเมินประสิทธิภาพเพื่อการปรับปรุง ทุกโรงแรมจะสำรวจความพึงพอใจของลูกค้าผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็ปไซต์ และการใช้กระดาษประกอบการประเมิน เป็นต้น ผู้ศึกษาได้ให้ข้อเสนอแนะต่อการนำแนวทางที่ได้รับจากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ภายในโรงแรม อันประกอบไปด้วย (1) สถานประกอบการโรงแรมควรมีการปรึกษาและพูดคุยร่วมกันภายในระดับบริหาร เพื่อกำหนดแนวทางการให้บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน อาทิ การใช้เงิน การดำเนินงาน และการปรับกระบวนการ เป็นต้น (2) สถานประกอบการโรงแรมควรปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์ของการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในทั้งหมด 7 หมวด อันประกอบด้วย หมวดที่ 1 นโยบายด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อาทิ การกำหนดนโยบายที่มีความชัดเจน รวมถึงการแจ้งข้อมูลไปยังฝ่ายต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง หมวดที่ 2 การพัฒนาบุคลากร อาทิ การกำหนดวาระการประชุมที่มีความเกี่ยวเนื่องกับการรักษาสิ่งแวดล้อม หมวดที่ 3 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ อาทิ การสร้างและนำเสนอแนวคิด “Go Green” หมวดที่ 4 การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อาทิ การสนับสนุนการใช้วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจากภูมิภาค หมวดที่ 5 การจัดการสิ่งแวดล้อมและพลังงาน อาทิ การสร้างบ่อบำบัดน้ำเสีย หากสถานประกอบการมีเงินลงทุนที่มากเพียงพอ หมวดที่ 6 การมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นและชุมชน อาทิ การจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน เช่น การปลูกต้นไม้ และการสนับสนุนการจัดทำสินค้า และหมวดที่ 7 การประเมินประสิทธิภาพเพื่อการปรับปรุง อาทิ การจัดประชุมร่วมกับคณะทำงานเพื่อตรวจสอบผลการดำเนินงานและรับฟังข้อคิดเห็นen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641532072_ณหทัย คุณประดิษฐ์.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.