Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79760
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorDussadee Praserttitipong-
dc.contributor.advisorWijak Srisujjalertwaja-
dc.contributor.authorPantaree Pitivaranunen_US
dc.date.accessioned2024-07-15T04:09:26Z-
dc.date.available2024-07-15T04:09:26Z-
dc.date.issued2024-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79760-
dc.description.abstractThis study emphasizes the critical role of course learning outcomes, particularly in assessing student capability, mainly in the cognitive learning framework provided by Bloom's Taxonomy. In computer science education, aligning these outcomes with curriculum guidelines is important for program quality and relevance. The study introduces machine learning models, including Multinomial Naive Bayes, Logistic Regression, Random Forest, and Extreme Gradient Boosting (XG Boost), to predict and visualize course learning outcomes classification using radar charts. The primary aim is to establish a classification model aligning with ACM/IEEE undergraduate computer science program curriculum guidelines. Additionally, the study addresses the ambiguity inherent in Bloom's Taxonomy, where the same action verb may span multiple cognitive levels, potentially confusing in defining learning objectives across Familiarity, Usage, and Assessment domains. Through a semi-automated prototype, the study showcases a scalable and adaptable framework for visualizing learning outcomes classification results by radar charts. This framework is intended to benefit educators, curriculum developers, and accreditation bodies, enhancing the coherence and effectiveness of computer science undergraduate programs.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleLearning outcomes classification model based on curriculum guidelines for undergraduate programs in computer scienceen_US
dc.title.alternativeแบบจำลองการจำแนกผลลัพธ์การเรียนรู้ตามแนวทางหลักสูตรสำหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรีสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.lcshEducation -- Curricula-
thailis.controlvocab.lcshComputer science -- Curricula-
thailis.controlvocab.lcshMachine learning-
thailis.controlvocab.lcshClassification-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้เน้นถึงบทบาทที่สำคัญของผลลัพธ์การเรียนรู้ในหลักสูตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประเมินความสามารถของผู้เรียน โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในกรอบการเรียนรู้ทางปัญญาที่จัดทำโดยอนุกรมวิธานของ Bloom ในขอบเขตของการศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ การปรับผลลัพธ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแนวทางหลักสูตรเป็นสิ่งสำคัญสำหรับคุณภาพและความสัมพันธ์กันของหลักสูตรเป็นอย่างมาก การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ได้นำการเรียนรู้ของจักรกล (Machine Learning Models) ได้แก่ พหุนาอีฟเบย์ (Multinomial Naive Bayes) การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก (Logistic Regression) อัลกอริทึมการจำเเนกประเภทเเบบการสุ่มป่าไม้ (Random Forest) และ ทฤษฎีอัลกอลิทึม Extreme Gradient Boosting (XG Boost) มาใช้เพื่อคาดการณ์การจำแนกผลลัพธ์การเรียนรู้ตามแนวทางหลักสูตรสำหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์และแสดงภาพการจัดหมวดหมู่ของการจำแนกผลลัพธ์ โดยใช้แผนภูมิเรดาร์ (Radar charts) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายหลักคือการสร้างแบบจำลองการจำแนกผลลัพธ์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับแนวทางหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์สำหรับหลักสูตรระดับปริญญาตรี ของ ACM/ IEEE นอกจากนี้การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ยังได้กล่าวถึงความคลุมเครือของคำกริยาที่อยู่ในอนุกรมวิธานของ Bloom ซึ่งอาจก่อให้เกิดความสับสนในการกำหนดหมวดหมู่ของผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งในระดับความคุ้นเคย ระดับการใช้งาน และระดับการประเมินผล อีกทั้งการศึกษานี้ยังนำเสนอการแสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ด้วยแผนภูมิเรดาร์ (Radar Charts) ผ่านแบบจำลองต้นแบบกึ่งอัตโนมัติของกรอบการทำงานที่สามารถปรับเปลี่ยนได้เพื่อเป็นประโยนช์ต่อผู้เรียน ผู้พัฒนาหลักสูตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อเพิ่มความสอดคล้องและประสิทธิผลของหลักสูตรระดับปริญญาตรีสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650632022-PANTAREE PITIVARANUN.pdf3.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.