Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79752
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPree Thiengburanathum-
dc.contributor.authorSukanya Sawanoien_US
dc.date.accessioned2024-07-15T01:01:31Z-
dc.date.available2024-07-15T01:01:31Z-
dc.date.issued2024-04-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79752-
dc.description.abstractIn recent times, there has been a significant increase in global and Thai electricity consumption. This surge has led people to seek ways to save on electricity costs, such as installing solar panels. However, it appears to be a solution addressing the symptom rather than the root cause, as people continue to consume electricity at similar levels. Understanding the factors influencing electricity usage is crucial for tackling the root cause, as it enables the reduction of activities or behaviors leading to excessive energy consumption. This research aims to investigate the factors influencing electricity consumption in university dormitories, specifically focusing on the electricity bills. Data was collected through a total of 243 surveys, rigorously verified and prepared for analysis. The survey yielded a total of 35 factors, which were then analyzed to identify their relationships with electricity consumption. The 16 factors were found to correlate with electricity usage based on Spearman's correlation, while 19 factors were identified through MI. To simplify the data and reduce complexity, EFA was employed, resulting in only 7 common factors from both Spearman's correlation and MI analyses. Each dataset was utilized to build predictive models for electricity consumption using five algorithms: SVM, MLP, KNN, DT, and LR. The baseline model, performing best in terms of learning efficiency with the dataset analyzed for correlation with electricity consumption using MI's 19 factors and SVM, achieved a testing accuracy score of 0.5762. To enhance the processing efficiency of the baseline model, parameter tunings were made for the SVM, with C set to 1.5, gamma set to 4.699, and using the “rbf” kernel. Post-training and evaluation, the adjusted model exhibited a testing accuracy score of 0.7353, indicating that parameter tuning positively affected the predictive performance of the model for real-world scenarios. From the information gathered, it can be concluded that factors influencing electricity consumption include the number of notebooks operating on the Windows operating system, the duration of computer usage for both learning and gaming, activities such as ironing or using a hair dryer combined with turning on the air conditioner for heat dissipation, knowledge about electricity usage (e.g., choosing electrical appliances labeled with the number 5), and finally, attitudes towards electricity usage.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectBuilding Energy Consumptionen_US
dc.subjectOccupant Behavioren_US
dc.subjectInfluencing Factorsen_US
dc.subjectQuestionnaire surveyen_US
dc.subjectEnergy Consumption Analysisen_US
dc.titleAnalysis of factors influencing electricity consumption of university's dormitories during Post-COVID-19 recoveryen_US
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้พลังงานไฟฟ้าของหอพักในเขตมหาวิทยาลัยในช่วงการฟื้นตัวหลังโควิด-19en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.lcshElectric power consumption-
thailis.controlvocab.lcshEnergy Consumption -- Analysis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบัน ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยได้มีการใช้พลังงานไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ผู้คนต้องการวิธีในการประหยัดค่าไฟ เช่นการติดตั้งโซลาร์เซลล์ เป็นต้น แต่ดูเหมือนว่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เพราะผู้คนยังคงมีการใช้พลังงานไฟฟ้าในปริมาณเท่าเดิม การทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้พลังงานไฟฟ้าจะช่วยแก้ปัญหาที่ต้นเหตุเพราะสามารถลดกิจกรรมหรือพฤติกรรมที่จะก่อให้เกิดการใช้พลังงานที่มากเกินไป ดังนั้นการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยมีความตั้งใจที่จะศึกษาปัจจัยที่จะส่งผลต่อปริมาณการใช้ไฟฟ้าจากค่าไฟของอาคารหอพักมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าไฟ รวมถึงมีการสร้างโมเดลการทำนายค่าไฟของนักศึกษาที่เข้ามาพักอาศัย การวิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามทั้งหมด 243 ฉบับ โดยข้อมูลทั้งหมดจะถูกตรวจสอบความถูกต้องและเตรียมข้อมูลก่อนเป็นอันดับแรก และพบว่าจำนวนปัจจัยที่ได้จากแบบสอบถามมีทั้งหมด 35 ปัจจัย จากนั้นวิเคราะห์ปัจจัยเหล่านี้เพื่อหาความสัมพันธ์กับปริมาณการใช้ไฟฟ้า พบว่ามี 16 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อค่าไฟตามความสัมพันธ์ของสเปียร์แมน และพบ 19 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับค่าไฟจากการใช้ MI สำหรับการลดจำนวนตัวแปรหรือลดความซับซ้อนของข้อมูลด้วยการทำ EFA ทำให้ตัวแปรที่มาจากการวิเคราะห์ด้วยความสัมพันธ์ของสเปียร์แมนและ MI ต่างเหลือเพียง 7 ปัจจัยทั้งสองชุดข้อมูล แต่ละชุดข้อมูลถูกนำมาใช้เพื่อสร้างแบบจำลองการทำนายปริมาณการใช้ไฟฟ้าโดยใช้ 5 อัลกอริธึม: SVM, MLP, KNN, DT และ LR สำหรับโมเดลพื้นฐานที่ได้รับประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่ดีที่สุดด้วยชุดข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์ความสัมพันธ์กับค่าไฟด้วย MI ทั้งหมด 19 ปัจจัยและ SVM โดยมีค่าความแม่นยำของการทดสอบด้วยชุดข้อมูลทดสอบเท่ากับ 0.5762 ในการเพิ่มประสิทธิภาพการประมวลผลของโมเดลพื้นฐานจะทำโดยการปรับค่าพารามิเตอร์สำหรับ SVM โดย C มีค่าเท่ากับ 1.5, gamma มีค่าเท่ากับ 4.699 และเคอเนลที่ใช้จะเป็น "rbf" หลังจากการสอนโมเดลและทำการวัดประสิทธิภาพของโมเดลแล้วพบว่าค่าความแม่นยำของการทดสอบด้วยชุดข้อมูลทดสอบของโมเดลที่มีการปรับพารามิเตอร์แล้วมีค่าเท่ากับ 0.7353 นั่นหมายถึงการปรับค่าพารามิเตอร์ส่งผลที่ดีต่อประสิทธิภาพของโมเดลการทำนายสำหรับข้อมูลที่จะเกิดขึ้นในสถานการณ์จริง จากข้อมูลที่มีผลให้ประสิทธิภาพของโมเดลดีที่สุดสามารถสรุปได้ว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อค่าไฟประกอบไปด้วย จำนวนคอมพิวเตอร์พกพาที่ทำงานด้วยระบบปฏิบัติการ Windows, ระยะเวลาสำหรับการใช้งานคอมพิเตอร์ที่งเพื่อการเรียนและการเล่นเกม, การรีดผ้าหรือการใช้ไดร์เป่าผมพร้อมกับการเปิดเครื่องปรับอากาศเพื่อระบายความร้อน, การมีความรู้เกี่ยวกับการใช้ไฟ เช่น การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ทีฉลากเบอร์5 และสุดท้ายคือทัศนคติที่มีต่อการใช้ไฟฟ้าen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640632022-Sukanya Sawanoi.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.