Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไกรวุฒิ ใจคำปัน-
dc.contributor.authorอนุพงค์ บัวเงินen_US
dc.date.accessioned2024-07-14T16:49:31Z-
dc.date.available2024-07-14T16:49:31Z-
dc.date.issued2567-04-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79745-
dc.description.abstractThis research investigates stakeholders' expectations and their level of preparedness for the launch of the Public Administration program at Chiang Mai Rajabhat University's Mae Hong Son Campus. The study employed qualitative research methodologies, collecting data from three university executives on the program's readiness, three government agency heads in Mueang District, Mae Hong Son Province about graduate expectations, and forty high school graduates in Mueang District for a focus group on program-related issues. Analytical induction from interviews and content analysis assessed the data. The findings indicate that (1) the campus is prepared in terms of organizational structure, systems, policy, resources, and facilities, with support personnel ready; however, academic personnel readiness is lacking. (2) Expectations for graduates include responsibility, versatility, communication skills, adaptability, passion for the profession, political neutrality, self-expression, public spirit, humility, technological adeptness, and especially proficiency in human resource management. (3) Program expectations entail organizing special teaching sessions, basic university adjustments before enrollment, and providing facilities and scholarships. Students are expected to learn about public policymaking, serve in government roles after graduation, potentially pursue further studies, or start a personal business. The decision to pursue further education is primarily influenced by family and friends, with the national context as an additional factor.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแนวทางการเตรียมความพร้อมen_US
dc.subjectหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์en_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอนen_US
dc.subjectGuidelines for preparationen_US
dc.subjectPublic Administration Programen_US
dc.subjectChiang Mai Rajabhat University, Mae Hong Son Campusen_US
dc.titleแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeGuidelines for preparing to develop The Public Administration Program at Chiang Mai Rajabhat University, Mae Hong Son Campusen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน -- หลักสูตร-
thailis.controlvocab.thashรัฐประศาสนศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashรัฐประศาสนศาสตร์ -- หลักสูตร-
thailis.controlvocab.thashสถาบันอุดมศึกษา -- หลักสูตร-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นอุดมศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพร้อมและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการเปิดหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วิทยาเขตแม่ฮ่องสอน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารของมหาวิทยาลัยฯ จำนวน 3 คน ในประเด็นเกี่ยวกับความพร้อมในการเปิดหลักสูตรฯ และหัวหน้าส่วนราชการในอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 3 คน ในประเด็นเกี่ยวกับความคาดหวังต่อบัณฑิต ร่วมกับการสนทนากลุ่มกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่าในอำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 4 โรงเรียน รวม 40 คน ในประเด็นเกี่ยวกับความคาดหวังที่มีต่อหลักสูตรฯ วิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลการศึกษาด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาร่วมกับการวิเคราะห์สรุปอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า (1) วิทยาเขตฯ มีความพร้อมด้านระบบโครงสร้างองค์การ ด้านนโยบาย ด้านทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านชุมชนโดยรอบ ส่วนความพร้อมด้านทรัพยากรบุคคลพบว่า มีความพร้อมเฉพาะบุคลากรสายสนับสนุน แต่ยังขาดความพร้อมในส่วนบุคลากรสายวิชาการ (2) ความคาดหวังที่มีต่อบัณฑิตคือต้องเป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ทำงานได้หลากหลาย มีทักษะด้านการสื่อสาร สามารถปรับตัวในองค์กร รักในวิชาชีพ วางตัวเป็นกลางทางการเมือง มีความกล้าแสดงออก มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อส่วนรวม อ่อนน้อมถ่อมตน มีความสามารถทางเทคโนโลยี ที่สำคัญคือมีความรู้และทักษะด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และ (3) ความคาดหวังที่มีต่อหลักสูตรฯ คือต้องการให้จัดการเรียนการสอนภาคพิเศษ รองลงมาคือภาคปกติ ต้องการให้มหาวิทยาลัยมีการปรับพื้นฐานก่อนเข้าเรียน มีสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ และทุนการศึกษา ในหลักสูตรฯ คาดหวังว่าจะได้รับความรู้เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายสาธารณะ เมื่อสำเร็จการศึกษาจะรับราชการเป็นส่วนใหญ่ บางส่วนต้องการศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา และประกอบธุรกิจส่วนตัว บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อคือคนในครอบครัว รองลงมาคือเพื่อน ส่วนสถานการณ์บ้านเมืองเป็นปัจจัยเสริมen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932043-ANUPONG BUANGOEN.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.