Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79732
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorชลธิชา ทัตชัยen_US
dc.date.accessioned2024-07-13T14:08:44Z-
dc.date.available2024-07-13T14:08:44Z-
dc.date.issued2024-04-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79732-
dc.description.abstractThis independent study research aims to study the processes and effectiveness outcomes of the national food waste management campaign of local administrative organization in Mueang Mae Hong Son district, Mae Hong Son province. It also aims to study the sustainable implementation approach for the national food waste management campaign of local administrative organization in Mueang Mae Hong Son district, Mae Hong Son province. The study adopts a mixed-method research approach, combining quantitative and qualitative research methods, by using a questionnaire to collect data from a representative sample of households residing within the local government organization in Mueang Mae Hong Son district area, totaling 386 people, and conducting in-depth interviews with 10 key informants, including personnel from relevant state agencies at the local, district, and provincial levels. The research findings indicate that the majority of the population prioritize separating organic waste from other types of waste, and the sample households have cooperated in the implementation of wet waste bin to reduce global warming. The local government organization in the area mainly promotes and supports the installation. However, households tend to separate organic waste from other types of waste using other methods more frequently than using wet waste bins to reduce global warming, mainly due to the infrequency of using wet waste bins, which accounts for 46.63% of the frequency of using wet waste bin to reduce global warming. Additionally, there are challenges and obstacles concerning budget constraints and the understanding of the local population and working staff. Therefore, for the sustainability of the national food waste management campaign of local administrative organization in Mueang Mae Hong Son district, Mae Hong Son province, it is crucial for all stakeholders, including the government, private sector, and local communities, including volunteers in the area, to continuously and consistently participate. The roles of leaders and leadership potential at all levels will significantly affect the success of the wet waste bin project for reducing global warming sustainably in the future. en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความยั่งยืนของโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeThe Sustainability of national food waste management campaign of local administrative organization in Mueang Mae Hong Son District, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- แม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashความยั่งยืน -- แม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashขยะและการกำจัดขยะ -- แม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashภาวะโลกร้อน -- แม่ฮ่องสอน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการและผลสัมฤทธิ์โครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน และเพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ให้เป็นไปอย่างยั่งยืน ใช้วิธีศึกษาวิจัยเชิงผสมผสาน ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างตัวแทนครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่อำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จำนวน 386 คนและการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 10 คน ได้แก่ บุคลากรหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับอำเภอ และระดับจังหวัด ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับการคัดแยกขยะอินทรีย์ออกจากขยะประเภทอื่น และครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างได้ดำเนินการให้ความร่วมมือในการจัดทำถังขยะเปียกลดโลกร้อน โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เป็นผู้ให้การส่งเสริมและสนับสนุน อย่างไรก็ตาม ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะอินทรีย์ออกจากขยะประเภทอื่น โดยวิธีอื่น ๆ มากกว่าการใช้ถังขยะเปียกลดโลกร้อน เนื่องจากความถี่ในการใช้ถังขยะเปียกลดโลกร้อนคือ นาน ๆ ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 46.63 ของความถี่การใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ในระดับครัวเรือน ทั้งนี้ ยังพบปัญหา อุปสรรค ในเรื่องของงบประมาณ และความรู้ความเข้าใจของประชาชนในพื้นที่และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ดังนั้น ในการดำเนินการขับเคลื่อนโครงการถังขยะเปียก ลดโลกร้อน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในอำเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน อย่างยั่งยืนและเหมาะสม จำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมถึงอาสาสมัครในพื้นที่ จะต้องเข้ามามีส่วนร่วมอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง รวมถึงบทบาทของผู้นำและศักยภาพของผู้นำทุกระดับจะส่งผลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนโครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อนฯ ได้อย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932015-ชลธิชา ทัตชัย.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.