Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorศุภวิชญ์ ใจเย็นen_US
dc.date.accessioned2024-07-13T08:22:06Z-
dc.date.available2024-07-13T08:22:06Z-
dc.date.issued2024-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79729-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) study service quality of the Human Resource Management Division, University Office, Chiang Mai University, from the perspective of an officer working in human management department. 2) study satisfaction in university officers working in human management related fields, who receive services from Human Resource Management Division, University Office, Chiang Mai University. 3) study quality related factors affecting services from the division that also influence the satisfaction in university officers working in human management related fields, who receive services 4) survey guidelines for improving service quality from Human Resource Management Division, University Office, Chiang Mai University, as to make it align with its vision to create innovation using information technology for human management excellence. The organization’s mission is to build proactive human management with excellence and creating HR innovation that aligns with university employees’ needs. The questionnaire was used in this research to collect data from 128 employees who work in human management fields from 45 units in university office and other sections at various faculties who have experienced working with or receiving services from the Human Resource Management Division. The research tool was questionnaire with 5 rating scales. Statistics used in data analyze were percentage, average and standard deviation. The results were found that 1) the quality in providing services by the Human Resource Management Division, University Office, Chiang Mai University was in high level (average point = 4.00) while the tangibility level of the service was in high level (average point = 3.85). The reliability was in high level (average point = 3.97). The responsiveness was in high level (average point = 4.10). The assurance level in high level (average point = 4.08). And empathy level was high (average point = 3.89). 2) the level of satisfaction from university officers working in human management related fields towards services provided by Human Resource Management Division, University Office, Chiang Mai University was high (average point = 3.99) , who receive services from Human Resource Management Division, University Office, Chiang Mai University, especially the satisfaction on equitable service (average point = 4.03), timely service (average point = 3.87), ample service (average point =4.00), continuous service (average point =4.00), and progressive service (average point = 4.04). And 3) From the experiment, there are 2 quality factors that affect university employees’ satisfaction with 0.05 statistical significance, which are; assurance (B = 0.260 p-value = 0.003) and empathy (B = 0.355 p-value =<0.001), and 4) For the development guidelines to improve the service in the future, it was found that providing services using electronic systems is the first thing to focus on, following by adding extra improvement on service providing process, personnel expertise, and location / facilities come last. Keywords: University employee, University employee working in human resource fields, Unit, service quality, satisfactionen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาคุณภาพการให้บริการของกองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for service quality development of the Human Resource Management Division, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กองบริหารงานบุคคล-
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานบุคคลในสถาบันอุดมศึกษา-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้ใช้บริการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาคุณภาพการให้บริการของกองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในทัศนะของพนักงานมหาวิทยาลัยผู้ปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคลผู้รับบริการ 2. ศึกษาความพึงพอใจของพนักงานมหาวิทยาลัยผู้ปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคลผู้รับบริการจากกองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. ศึกษาปัจจัยด้านคุณภาพการให้บริการของกองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของพนักงานมหาวิทยาลัยผู้ปฏิบัติงานด้านบริหาร งานบุคคล ผู้รับบริการจากกองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 4. สำรวจหาแนวทางในการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพบริการของกองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้มีคุณภาพการบริการ (Service quality) ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ คือ สร้างนวัตกรรมการบริการด้วยเทคโนโลยีข้อมูลสู่ความเป็นเลิศด้านบริหารบุคคล และพันธกิจ คือ จัดการงานบุคคลแบบเชิงรุกด้วยความเป็นเลิศ และสร้างนวัตกรรมการบริหารงานบุคคล (Innovation HR) ให้ตรงตามความต้องการของพนักงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใช้การเก็บข้อมูล จากแบบสอบถามจากพนักงานมหาวิทยาลัยผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารงานบุคคล ในสำนักงาน และคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 45 แห่ง จำนวนทั้งสิ้น 128 คน ซึ่งเป็นผู้มีประสบการณ์ในการทำงานร่วมกับหรือได้รับบริการจากกองบริหารงานบุคคล เครื่องมือในการวิจัยคือแบบสอบถามมาตราส่วนค่า 5 ระดับ (rating scale) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพการให้บริการของกองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในภาพรวมโดยรวมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย=4.00) โดยความเป็นรูปธรรมของบริการมีค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย= 3.85) ด้านความเชื่อถือมีค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย=3.97) ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการมีค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย=4.10) ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อผู้รับบริการมีค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย=4.08) และด้านการรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการมีค่อนข้างสูง (ค่าเฉลี่ย= 3.89) 2. ความพึงพอใจของพนักงานมหาวิทยาลัยผู้ปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคลต่อการบริการจาก กองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยรวมพบว่า มีค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย=3.99) โดยมีความพึงพอใจในด้านการให้บริการอย่างเสมอภาคมีค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย=4.03) ด้านการให้บริการอย่างทันเวลามีค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย= 3.87) การให้บริการอย่างเพียงพอ มีค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย=4.00) ด้านการให้บริการอย่างต่อเนื่องมีค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย=4.00) และ การให้บริการอย่างก้าวหน้ามีค่อนข้างมาก (ค่าเฉลี่ย=4.04) และ 3. จากการทดสอบพบว่า ปัจจัยด้านคุณภาพการให้บริการของกองบริหารงานบุคคล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ส่งผลต่อความพึงพอใจของพนักงานมหาวิทยาลัยผู้ปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคลผู้รับบริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ทีทั้งหมด 2 ด้าน ได้แก่ การให้ความเชื่อมั่นต่อผู้รับบริการ (B = 0.260 p-value = 0.003) และการรู้จักและเข้าใจผู้รับบริการ (B = 0.355 p-value =<0.001) และ 4. แนวทางการปรับปรุงพัฒนาการให้บริการของกองบริหารงานบุคคล พบว่า ด้านการให้บริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ต้องการปรับปรุงพัฒนาเป็นลำดับแรก รองลงมาด้านการพัฒนาระบบขั้นตอนกระบวนการให้บริการ ด้านการพัฒนาบุคลากรผู้ให้บริการให้มีความเป็นมืออาชีพ และด้านการพัฒนาสถานที่ / การจัดสิ่งอํานวยความสะดวกในการให้บริการ เป็นลำดับสุดท้าย คำสำคัญ : พนักงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่; พนักงานมหาวิทยาลัยผู้ปฏิบัติงานด้านบริหารงานบุคคล; ส่วนงาน; คุณภาพการให้บริการ (Service Quality); ความพึงพอใจในบริการ (Satisfaction)en_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932037 นายศุภวิชญ์ ใจเย็น.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.