Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79726
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐพล ตันตระกูลทรัพย์-
dc.contributor.authorหฤทัยชนก คำใสen_US
dc.date.accessioned2024-07-13T07:54:12Z-
dc.date.available2024-07-13T07:54:12Z-
dc.date.issued2024-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79726-
dc.description.abstractThis thesis aim to study the negotiation for the Shan ethnic minority card in Baan Huai Pong Khae, Mueang District, Mae Hong Son Province. The objectives of the study are 1) to study the receiving of a Shan minority card in Ban Huai Pong Khae, Mueang District, Mae Hong Son Province; 2) study and analyze the negotiation in order to receive a Shan minority card in Ban Huai Pong Khae, Mueang District, Mae Hong Son Province This is a qualitative research study in which data was collected from relevant documents and in-depth interviews with a group of 14 key informants in order to analyze the data using the Patronage System concept and Subaltern studies concept. The results of the study found that The Shan population's bargaining experience in order to receiving the ethnic minority card involves a patronage relationship. In this study, it was found that The Shan population in Huai Pong Khae has developed a patronage relationship between Subdistrict Headman and Shan population Passed a total of 4 experiences: Experience working for Subdistrict Headman, Payment experience, Escape experience and Prison experience In addition, experiences that exist directly between the Shan population and the state include the experience of being imprisoned. Experience of escaping government officials In addition to the Shan population, they also created their own positions in Mae Hong Son Province using 6 strategies: Shan Cultural Identity strategy, Strategy of loyalty to the Thai monarchy, Strategy for the discourse of the sister city, Strategy for escaping government power, Strategy of the seniority system in Shan society And the last strategy is Endure difficult tasks Therefore, the negotiation to receiving the ethnic minority card of the Shan population in the Ban Huai Pong Khae area relies on patronage relationships. and direct negotiations with state power through the creation of social positions and the accumulation of economic capital that are accompanied by the fluid context of borderlandness and historical and cultural proximity to be used in ticket negotiations.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการต่อรองเพื่อบัตรชนกลุ่มน้อยประชากรไทใหญ่ใน บ้านห้วยโป่งแข่ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativeThe Negotiating of Shan population for an ethnic minority card in Baan Huai Pong Khae Community, Mueang District, Mae Hong Son Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashชนกลุ่มน้อย -- แม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashไทใหญ่ -- แม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashฉาน (พม่า) -- แม่ฮ่องสอน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษาการต่อรองเพื่อบัตรชนกลุ่มน้อยประชากรไทใหญ่ในบ้านห้วยโป่งแข่ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา ได้แก่ 1) ศึกษาการได้รับบัตรชนกลุ่มน้อยชาวไทใหญ่ในบ้านห้วยโข่งแข่ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) ศึกษาและวิเคราะห์การต่อรองเพื่อให้ได้มาซึ่งบัตรชนกลุ่มน้อยของชาวไทใหญ่ในบ้านห้วยโข่งแข่ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งมีการดำเนินการเก็บข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 14 คน เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้แนวคิดระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) และแนวคิดผู้มีสถานะรอง (Subaltern studies) ผลการศึกษาพบว่า ประสบการณ์การต่อรองของประชากรไทใหญ่จนเอื้อให้ได้รับบัตรชนกลุ่มน้อยเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ ซึ่งในการศึกษานี้พบว่า ประชากรไทใหญ่ในห้วยโป่งแข่สร้างความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ที่เกิดขึ้นระหว่างกำนัน ผู้ใหญ่บ้านและประชากรไทใหญ่ ผ่านประสบการณ์ทั้งหมด 4 ประสบการณ์ได้แก่ ประสบการณ์ทำงานให้แก่ผู้ใหญ่บ้าน ประสบการณ์การจ่ายเงิน ประสบการณ์หลบหนี และประสบการณ์จำคุก นอกจากนั้นประสบการณ์ที่มีระหว่างประชากรไทใหญ่และรัฐโดยตรง ได้แก่ ประสบการณ์ถูกจำคุก ประสบการณ์การหลบหนีต่อเจ้าหน้าที่รัฐ นอกจากประชากรไทใหญ่ยังสร้างตำแหน่งแห่งของตนเองในจังหวัดแม่ฮ่องสอนด้วย 6 ยุทธวิธีได้แก่ ยุทธวิธีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมไทใหญ่ ยุทธิวิธีจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย ยุทธวิธีวาทกรรมบ้านพี่เมืองน้อง ยุทธวิธีหลบหนีต่ออำนาจรัฐ ยุทธวิธีระบบอาวุโสในสังคมไทใหญ่ และยุทธวิธีสุดท้ายคือ อดทนต่องานที่ยากลำบาก ดังนั้น การต่อรองเพื่อให้ได้มาซึ่งบัตรชนกลุ่มน้อยของประชากรไทใหญ่ในหย่อมบ้านห้วยโป่งแข่จึงอาศัยความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ และการต่อรองกับอำนาจรัฐโดยตรงผ่านการสร้างตำแหน่งแห่งที่ทางสังคมและสะสมทุนทางเศรษฐกิจที่มาพร้อมกับหยิบยกบริบทลื่นไหลของความเป็นชายแดนและความใกล้ชิดทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมาใช้ในการต่อรองเพื่อบัตรชนกลุ่มน้อยในครั้งนี้en_US
Appears in Collections:POL: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621931005-หฤทัยชนก คำใส.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.