Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79716
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorพีรวัฒน์ วันสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2024-07-12T01:17:17Z-
dc.date.available2024-07-12T01:17:17Z-
dc.date.issued2567-04-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79716-
dc.description.abstractThe objectives of the study were: 1. To study the cooperation process between government, people, communities and private sectors in Ban Ton Phueng Community Forest Management, Mae Pong Sub-district, Doi Saket District Chiang Mai Province and 2. To study the factors of the cooperation process that lead to success in Ban Ton Phueng Community Forest Management, Mae Pong Subdistrict, Doi Saket District Chiang Mai Province. The researcher chose to use the case study method. The key informant were community leaders, people in the community, representatives of relevant government agencies and representatives from Ban Ton Phueng Community Forest Management Agency, Mae Pong Subdistrict, Doi Saket District Chiang Mai Province, 17 people. The tools used in the study were 1) In-depth interviews and 2) Non-participant observations. The researcher used the content analysis to collect secondary data from relevant documents and interview data and non-participatory observation. The results of the study showed that 1) the process of cooperation between the public sector, the public, the community, the private sector in the management of Ban Ton Phueng Community Forest, Mae Pong Sub-district, Doi Saket District Chiang Mai Province as follows: (1) building understanding in the area through face-to-face dialogue; (2) building trust in working together in the form of planning with the community; (3) committing to solving the problem together; (4) sharing understanding of knowledge (5) intermediate Outcomes 2) the factors that lead to success in Ban Ton Phueng Community Forest Management, consists of (1) initiative of community (2) participation in the community and (3) supporting form external organizations awareness in the community.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectCooperation Process, Community Forest Management, Ban Ton Phueng, Mae Pong Subdistricten_US
dc.titleกระบวนการความร่วมมือในการจัดการป่าชุมชนบ้านต้นผึ้ง ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCollaborative process of community forest management in Ban Ton Phueng, Mae Pong sub-district, Doi Saket district, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashป่าชุมชน -- ดอยสะเก็ด (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashป่าไม้และการป่าไม้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง กระบวนการความร่วมมือในการจัดการป่าชุมชนบ้านต้นผึ้ง ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตุประสงค์ในการศึกษาได้แก่ 1. เพื่อศึกษากระบวนการความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ประชาชน ชุมชน ภาคเอกชน ในการจัดการป่าชุมชนบ้านต้นผึ้ง ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลทำให้กระบวนการความร่วมมือประสบความสำเร็จในการจัดการป่าชุมชนบ้านต้นผึ้ง ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีกรณีศึกษา ผู้ให้ข้อมูลได้แก่ ผู้นำชุมชน ราษฎรในชุมชน ผู้แทนหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง และผู้แทนหน่วยงานในการจัดการป่าชุมชนบ้านต้นผึ้ง ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ 1) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และ 2) การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ผู้วิจัยเลือกใช้การวิเคราะห์เนื้อหาจากการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่ เกี่ยวข้อง และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ และการสังเกตแบบมีไม่มีส่วนร่วม ผลการศึกษาพบว่า 1) กระบวนการความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ประชาชน ชุมชน ภาคเอกชน ในการจัดการป่าชุมชนบ้านต้นผึ้ง ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย (1) การสร้างความเข้าใจในพื้นที่ผ่านการสนทนาแบบเผชิญหน้า (2) การสร้างความไว้วางใจในการทำงานร่วมกัน (3) การกระตุ้นให้เกิดความมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาร่วมกันของคนในชุมชน (4) การแบ่งปันความเข้าใจ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ (5) การวางเป้าหมายเพื่อสร้างผลลัพธ์ให้เกิดขึ้นระหว่างกระบวนการ 2) ปัจจัยทำให้เกิดความสำเร็จในการจัดการป่าชุมชนบ้านต้นผึ้ง ตำบลแม่โป่ง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย (1) การคิดริเริ่มร่วมกันของคนในชุมชน (2) ความร่วมมือของคนในชุมชน (3) การได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641932034-พีรวัฒน์ วันสวัสดิ์.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.