Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79712
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAcrapol Nimmolrat-
dc.contributor.authorXiaoqing Yien_US
dc.date.accessioned2024-07-12T01:07:04Z-
dc.date.available2024-07-12T01:07:04Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79712-
dc.description.abstractChinese language learning in Thai vocational schools faces many challenges, such as a lack of learning resources, traditional teaching methods, and a shortage of qualified teachers. These problems result in a lack of personalized Chinese learning opportunities for Thai vocational school students, posing significant barriers to effectively mastering Chinese knowledge and skills. In the current global context, learning Chinese can enhance the personal competitiveness of Thai students and promote Sino-Thai cultural exchange. Hence, identifying the problems and improvement strategies of Chinese learning in Thai vocational schools has significant practical relevance. However, existing research primarily focuses on general issues of Chinese teaching and seldom delves into the specific learning needs or challenges of Thai vocational school students. Therefore, this study aims to develop a novel Chinese language learning framework to address the diverse problems Thai vocational school students encounter in their Chinese language learning process. To examine the research problems and formulate the research methodology, a comprehensive literature review was conducted to identify the key concepts of personal knowledge management (PKM), personal learning environment (PLE), constructivist learning theory, key Chinese skills required by the Chinese Proficiency Test (Hanyu Shuiping Kaoshi), and Chinese language education in Thai vocational schools. Subsequently, taking a vocational school in Chiang Mai as a case study, this study adopts various methods, including semi-structured interviews, observations, and brainstorming, to comprehensively reveal the status and problems of school students in learning Chinese. Finally, the data analysis results show the main problems Thai vocational school students face in learning Chinese, such as limited learning resources, monotonous learning methods, and a lack of effective learning environments and opportunities. The research findings indicate that students can actively and systematically learn, organize, construct, and manage their knowledge based on a positive personal learning environment. This study develops a personalized Chinese language learning framework that incorporates constructivist learning theory, PKM, and PLE to meet the dynamic needs and preferences of Chinese language learners in Thai vocational schools. Furthermore, this study provides valuable insights for researchers and practitioners to apply personalized learning approaches to the broader field of Chinese language education to satisfy the diverse demands of learners in different educational contexts.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleIntegrating personal knowledge management in chinese language learning for thai vocational school studentsen_US
dc.title.alternativeการบูรณาการการจัดการความรู้ส่วนบุคคลในการเรียนภาษาจีนสำหรับนักเรียนอาชีวศึกษาไทยen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshChinese language -- Study and teaching-
thailis.controlvocab.lcshChinese language -- Usage-
thailis.controlvocab.lcshVocational education-
thailis.controlvocab.lcshVocational school students-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเรียนรู้ภาษาจีนในโรงเรียนอาชีวศึกษาในประเทศไทยเผชิญกับความท้าทายมากมาย เช่น การขาดทรัพยากรการเรียนรู้ วิธีการสอนแบบดั้งเดิมและการขาดแคลนครูที่มีคุณสมบัติ ปัญหาเหล่านี้ส่งผลให้นักเรียนอาชีวศึกษาขาดโอกาสในการเรียนรู้ภาษาจีนแบบเฉพาะตัว ทำให้เป็นอุปสรรคสำคัญในการเรียนรู้ความรู้และพัฒนาทักษะภาษาจีนอย่างมีประสิทธิภาพ ในปัจจุบันการเรียนภาษาจีนสามารถช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันส่วนบุคคลของนักเรียนไทย และส่งเสริมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมจีน-ไทย ดังนั้น การศึกษาปัญหาและกลยุทธ์เพื่อการปรับปรุงการเรียนรู้ภาษาจีนในโรงเรียนอาชีวศึกษาในประเทศไทยจึงมีความเกี่ยวข้องในทางปฏิบัติอย่างมาก อย่างไรก็ตาม งานวิจัยปัจจุบันมุ่งเน้นไปที่ประเด็นทั่วไปของการสอนภาษาจีนเป็นหลัก และไม่คเจาะลึกถึงความต้องการในการเรียนรู้เฉพาะส่วนหรือความท้าทายของนักเรียนโรงเรียนอาชีวศึกษาไทย ดังนั้น การศึกษานี้จึงมุ่งพัฒนากรอบการเรียนรู้ภาษาจีนแบบใหม่เพื่อแก้ไขปัญหาที่พบในกระบวนการเรียนรู้ภาษาจีนของนักเรียนโรงเรียนอาชีวศึกษา เพื่อวิเคราะห์ปัญหาการวิจัยและกำหนดระเบียบวิธีวิจัย มีการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยงข้องกับแนวคิดหลักของการจัดการความรู้ส่วนบุคคล (Personal Knowledge Management) สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่วนบุคคล (Personal Learning Environment) ทฤษฎีการเรียนรู้ (Constructivist Learning Theory) กรอบการสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีนระดับสากล สำหรับชาวต่างชาติที่ใช้ภาษาจีนเป็นภาษาที่สอง และการศึกษาภาษาจีนในโรงเรียนอาชีวศึกษาในประเทศไทย โดยมีการศึกษาจากกรณีศึกษาของโรงเรียนอาชีวศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง การสังเกต และการระดมความคิด เพื่อศึกษาสถานการณ์และปัญหาของการเรียนภาษาจีนผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นถึงปัญหาหลักที่นักเรียนโรงเรียนอาชีวศึกษาเผชิญในการเรียนภาษาจีนเช่น ทรัพยากรการเรียนรู้ที่จำกัด วิธีการเรียนรู้แบบดั้งเดิม และการขาดสภาพแวดล้อมและโอกาสในการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ผลการวิจัยระบุว่านักเรียนสามารถสร้างความกระตือรือร้นและ จัดระเบียบการเรียนรู้ให้ เป็นระบบโดยอิงจากสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่วนบุคคลเชิงบวก การศึกษาครั้งนี้ ได้พัฒนากรอบการเรียนรู้ภาษาจีนส่วนบุคคลโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ แนวคิดหลักของการจัดการความรู้ส่วนบุคคล และ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ส่วนบุคคล เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เรียนภาษาจีนในโรงเรียนอาชีวศึกษา เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียนรู้ นอกจากนี้ การศึกษาครั้งนี้ยังให้ข้อมูลเชิงลึกสำหรับนักวิจัยและผู้ปฏิบัติงานเพื่อประยุกต์แนวทางการเรียนรู้ส่วนบุคคลสำหรับการศึกษาภาษาจีนในสาขาอื่นๆเพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของผู้เรียนในบริบททางการศึกษาที่แตกต่างกันen_US
Appears in Collections:CAMT: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
622132018_ XIOAQING YI.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.