Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79710
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พนม กุณาวงค์ | - |
dc.contributor.author | ชนินทร์ณัฐ ปันมูล | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-07-12T01:00:02Z | - |
dc.date.available | 2024-07-12T01:00:02Z | - |
dc.date.issued | 2567-06-07 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79710 | - |
dc.description.abstract | This qualitative study aimed to: (1) examine the current tourism situation of the Sam Tai culture in Banthi District, Lamphun Province, and (2) propose guidelines for developing appropriate creative tourism that preserves the Sam Tai culture. Data were collected through in-depth interviews with ten individuals across five stakeholder groups: tourism experts, cultural experts, local leaders, philosophers, and entrepreneurs. Additional methods included document analysis and participant observation. The theoretical framework incorporated concepts from community development, collaborative governance, and various tourism models, including community-based and creative tourism. The findings reveal that Banthi District is distinguished by its natural lifestyle, cultural richness, unique cuisine, and distinctive attire, which collectively attract tourists. Although the district boasts comprehensive tourism resources, the provision of supplementary tourism services remains insufficient. Based on these observations, the study proposes a six-element framework for developing creative tourism focused on cultural preservation: (1) enhancing tourists' skills; (2) prioritizing skill-based and experiential offerings; (3) leveraging intangible tourism resources; (4) emphasizing the unique local identity; (5) engaging tourists in activities; and (6) integrating everyday cultural practices. This approach aims to improve tourism management, benefit all stakeholders, and foster community engagement. Keywords: Creative Tourism, Sam Tai culture, Banthi district | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ | en_US |
dc.subject | วัฒนธรรมสามไต | en_US |
dc.subject | อำเภอบ้านธิ | en_US |
dc.subject | Creative tourism | en_US |
dc.subject | Sam Tai culture | en_US |
dc.subject | Banthi district | en_US |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อสืบสานวัฒนธรรมของอำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Guidelines for developing creative tourism for cultural preservation in Banthi district, Lamphun province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ลำพูน -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม | - |
thailis.controlvocab.thash | การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการท่องเที่ยวของวัฒนธรรมสามไตในปัจจุบันของอำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน 2) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมสามไตของอำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มตัวอย่าง 5 กลุ่ม ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการท่องเที่ยว ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรม ผู้นำท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้ประกอบการ รวมทั้งสิ้น 10 คน ร่วมกับการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง และรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยใช้แนวคิดการพัฒนาชุมชน แนวคิดการจัดการปกครองแบบประสานความร่วมมือ แนวคิดการท่องเที่ยว แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน และแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพการท่องเที่ยวของวัฒนธรรมสามไตของอำเภอบ้านธิ ในปัจจุบัน มีวิถีชีวิตที่เป็นธรรมชาติ โดยมีความโดดเด่นในด้านวัฒนธรรม ด้านอาหารการกิน และการแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ ที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาท่องเที่ยวในอำเภอบ้านธิ และมีองค์ประกอบของทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ครบถ้วน แต่ด้านการบริการเสริมทางการท่องเที่ยวที่ยังไม่ชัดเจน 2) ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เพื่อสืบสานวัฒนธรรมของอำเภอบ้านธิ จังหวัดลำพูน ด้วยองค์ประกอบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 6 ประการ ได้แก่ 1) เพิ่มทักษะให้กับนักท่องเที่ยว 2) สินค้าหลักคือทักษะและประสบการณ์ 3) เน้นทรัพยากรการท่องเที่ยวที่จับต้องไม่ได้ 4) เน้นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของท้องถิ่น 5) นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการท่องเที่ยว และ 6) เน้นวัฒนธรรมประจำวัน เพื่อให้การบริหารจัดการการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพและเหมาะสม และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ภาครัฐ ภาคเอกชน รวมถึงภาคประชาชน และกลุ่มต่างๆในพื้นที่ คำสำคัญ: การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์, วัฒนธรรมสามไต, อำเภอบ้านธิ | en_US |
Appears in Collections: | POL: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651932014-นาย ชนินทร์ณัฐ ปันมูล.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.