Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79687
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.authorยุพาภรณ์ วงศ์เขียวen_US
dc.date.accessioned2024-07-09T11:25:04Z-
dc.date.available2024-07-09T11:25:04Z-
dc.date.issued2024-05-23-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79687-
dc.description.abstractA study of Guidelines for Developing Innovative Competencies of Teachers in Educational Opportunity Extension Schools Attached to Lampang Primary Educational Service Area 1 aimed to :(1)examine the current situation, desired state and needs of developing innovative competencies for teachers in Educational Opportunity Extension Schools Attached to Lampang Primary Educational Service Area 1 (2)study guidelines for developing innovative competencies of teachers and (3) verify the guidelines for developing innovative competencies of teachers. The study was divided into3steps:(1) Studied the current situation, desired state and needs of the innovative competencies of teachers in Educational Opportunity Extension Schools, involveda total of 163participants. Tools used for this step includedquestionnaires (2) Studiedguidelinesforinnovative competenciesofteachers in Educational Opportunity Extension Schools based on interviewedwith 5 qualified individuals. Data analysis included percentages, means, standard deviations, and content analysis. (3) Verifiedthe accuracy, appropriateness, feasibility, and usefulness of guidelines through examination by 40 qualified individuals. The results of this study founded thaten_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกรของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1en_US
dc.title.alternativeGuidelines of developing innovative competencies of teachers in educational opportunity extension schools attached to Lampang primary educational service area 1en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashครู -- สมรรถนะ-
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (I) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของสมรรถนะนวัตกร ของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 (2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกร ของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 และ (3) เพื่อตรวจสอบแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกร ของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 วิธีดำเนินการศึกษาแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของสมรรถนะนวัตกรของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น 163 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถาม (2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกรของครู โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสัมภาษณ์ นำมาสังเคราะห์และเขียนสรุปเป็นแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกรของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และ (3) ตวรจสอบแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกร ของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยการตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของแนวทาง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบตรวจสอบแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกรของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง รวมทั้งสิ้น 40 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของสมรรถนะนวัตกรของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะนวัตกร ของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และความต้องการจำเป็นของสมรรถนะนวัตกรของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 พบว่า ด้านบุคลิกภาพส่วนบุคคล มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด มีค่าดัชนีความต้องการจำเป็น คือ 0.41 2) การจัดทำแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกร ของครู โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ประกอบด้วย 6 ส่วน คือ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) เนื้อหาการพัฒนา 4) กระบวนการพัฒนา ภายใต้กระบวนการบริหารด้วยวงจรคุณภาพ (PDCA) 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นวางแผน ขั้นปฏิบัติ ขั้นตรวจสอบ และขั้นปรับปรุง แก้ไข 5) การประเมินผลการพัฒนา 6) เงื่อนไขความสำเร็จ 3) ผลการตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของแนวทางการพัฒนาสมรรถนะนวัตกร ของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 1 ทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232082-ยุพาภรณ์ วงศ์เขียว.pdf22.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.