Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลงกรณ์ คูตระกูล-
dc.contributor.authorพงษ์พันธุ์ ธรรมลังกาen_US
dc.date.accessioned2024-07-09T10:17:26Z-
dc.date.available2024-07-09T10:17:26Z-
dc.date.issued2024-06-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79682-
dc.description.abstractThis study aims to investigate (1) individual factors affecting the duration of academic position submission, (2) procedure-related factors affecting the duration of academic position submission, and (3) organizational factors affecting the duration of academic position submission. A Qualitative research paradigm is adopted for this investigation. Key informants include 13 academic staffs, 2 personnel development officers, and 4 executives, who were in-depth interviewed using a semi-structured format. Thematic content analysis was applied for data interpretation. Findings revealed that (1) academic staff from all groups exhibited positive attitudes and high motivation, particularly among those in the science and technology fields with doctoral degrees, (2) all academic staff perceived both the teaching documentation evaluation process and the academic work evaluation process as not excessively intricate but rather time-consuming, and (3) all academic staff perceived university organizational factors to significantly support and facilitate the academic position submission process, except in terms of organizational strategies and shared values, where there was moderate support. Recommendations from this research include (1) strategies should be developed to foster a positive attitude among academic staff, particularly in groups where a positive attitude and high motivation are already prevalent, (2) academic position allowances should undergo periodic review and adjustment to mirror those provided to civil servants, along with the establishment of diverse reward mechanisms, (3) teaching responsibilities and other assignments should be appropriately distributed to ensure suitability, (4) the duration of academic performance evaluation processes should be adjusted to be more appropriate and streamlined, with shorter timelines, and (5) a clear strategy should be devised to promote and foster alignment of attitudes and a cohesive ideological orientation among academic staff towards a common direction.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่านen_US
dc.title.alternativeFactors affecting academic position submission of the academic staff of Rajamangala University of Technology Lanna Nanen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา -- ตำแหน่ง-
thailis.controlvocab.thashข้าราชการ -- การเลื่อนขั้น-
thailis.controlvocab.thashการเลื่อนตำแหน่ง -- น่าน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยปัจเจกบุคคลที่ส่งผลต่อระยะเวลาในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ (2) ปัจจัยเชิงกระบวนการที่ส่งผลต่อระยะเวลาในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ และ (3) ปัจจัยเชิงองค์กรที่ส่งผลต่อระยะเวลาในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 13 คน เจ้าหน้าที่งานพัฒนาบุคลากร จำนวน 2 คน และผู้บริหาร จำนวน 4 คน เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหาแบบสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการศึกษาพบว่า (1) บุคลากรสายวิชาการทุกกลุ่มมีเจตคติเชิงบวกและมีแรงจูงใจมาก โดยเฉพาะกลุ่มสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก และวุฒิการศึกษาปริญญาโท (2) บุคลากรสายวิชาการทุกกลุ่มเห็นว่าทั้งกระบวนการประเมินผลเอกสารประกอบการสอนและกระบวนการประเมินผลงานทางวิชาการไม่ยุ่งยากซับซ้อน แต่ใช้ระยะเวลานาน และ (3) บุคลากรสายวิชาการทุกกลุ่มเห็นว่าปัจจัยเชิงองค์กรของมหาวิทยาลัยมีส่วนส่งเสริมสนับสนุนในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการมาก ยกเว้นในมิติกลยุทธ์และค่านิยมร่วมขององค์กรที่มีส่วนสนับสนุนปานกลาง ข้อเสนอแนะจากการวิจัยนี้ได้แก่ (1) ควรหาแนวทางสร้างเจตคติเชิงบวกให้กับบุคลากรสายวิชาการ โดยเฉพาะกลุ่มที่ส่วนใหญ่มีเจตคติเชิงบวกและส่วนใหญ่มีแรงรูงใจมาก (2) ควรมีการทบทวนปรับเงินประจำตำแหน่งทางวิชาการให้เหมือนกับข้าราชการ และการให้รางวัลต่าง ๆ (3) ควรจัดภาระงานสอน และงานมอบหมายอื่น ๆ ให้มีความเหมาะสม (4) ควรปรับระยะเวลากระบวนการประเมินผลงานทางวิชาการให้มีความเหมาะสม กระชับสั้นลง และ (5) ควรวางแผนกลยุทธ์ที่ชัดเจนในการส่งเสริมสนับสนุน และสร้างทัศนคติ ความเชื่อของบุคลากรสายวิชาการให้ไปในทิศทางเดียวกันen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932064- พงษ์พันธุ์ ธรรมลังกา.pdf2.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.