Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79671
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไกรวุฒิ ใจคำปัน-
dc.contributor.authorน้ำทิพย์ กาศรีวิชัยen_US
dc.date.accessioned2024-07-09T01:01:43Z-
dc.date.available2024-07-09T01:01:43Z-
dc.date.issued2567-04-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79671-
dc.description.abstractThis research aims to: 1) study the success of the operations of the natural resource conservation network in Ban Mae Tung Ting, and 2) examine the problems and obstacles of the network’s operations at Ban Mae Tung Ting and identify solutions. This qualitative research used interviews as a tool to gather data from government agencies and the public. The study found that the operations of Ban Mae Tung Ting’s natural resource conservation network share common characteristics including a shared perspective, a common vision, mutual interests or benefits, participation of all network members, mutual reinforcement, support, and exchange interactions. Regarding problems, obstacles, and solutions, the findings suggest that: (1) there should be coordination and collaboration in conservation activities at the subgroup level; (2) the public’s understanding of the laws related to natural resource conservation is insufficient, hence there is a need to enhance legal knowledge among the citizens; and (3) given the changes over time from when the network was successful and the changing age of the community members, it is essential to pass on experiences from successful leaders to the new generation to ensure the network’s continued operation.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความสำเร็จของเครือข่ายen_US
dc.subjectเครือข่ายen_US
dc.subjectอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติen_US
dc.subjectบ้านแม่ตุงติงen_US
dc.subjectnetwork successen_US
dc.subjectnetworken_US
dc.subjectconservation of natural resourcesen_US
dc.subjectBan Mae Tung Tingen_US
dc.titleความสำเร็จของเครือข่ายความร่วมมือในการทำงานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ บ้านแม่ตุงติง ตำบลแม่สาบ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Success of collaborative network of natural resource conservation of Ban Mae Tung Ting village, Mae Sap sub-district, Samoeng district, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ -- สะเมิง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชน -- สะเมิง (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสำเร็จของการดำเนินงานของเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของบ้านแม่ตุงติง และ 2) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคของการดำเนินงานของเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของบ้านแม่ตุงติงและแนวทางการแก้ไขปัญหา งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานภาครัฐ และภาคประชาชน ผลการศึกษาพบว่า การดำเนินงานของเครือข่ายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของบ้านแม่ตุงติง มีคุณลักษณะร่วมกัน ได้แก่ การรับรู้มุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การมีความสนใจหรือผลประโยชน์ร่วมกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในเครือข่าย การเสริมสร้างซึ่งกันและกัน การเกื้อหนุนพึ่งพากัน และการมีปฏิสัมพันธ์ในเชิงแลกเปลี่ยน สำหรับผลการศึกษาเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ประกอบด้วย (1) ควรมีการประสานงานความร่วมมือในการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในระดับกลุ่มย่อย (2) ความรู้กฎหมายที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของประชาชนยังไม่เพียงพอ ดังนั้น ควรมีการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายให้กับราษฎร และ 3) การเปลี่ยนแปลงของช่วงเวลาที่ผ่านจากห้วงเวลาที่เครือข่ายด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติของบ้านแม่ตุงติงได้ประสบความสำเร็จและช่วงวัยของภาคประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น ควรมีการถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้นำรุ่นที่ประสบความสำเร็จให้ประชาชนรุ่นใหม่เพื่อให้เครือข่ายดำเนินงานต่อไปได้อย่างต่อเนื่องen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932027-น้ำทิพย์ กาศรีวิชัย.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.