Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79667
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมลิน เหล่าศิริถาวร-
dc.contributor.authorปรินทร์ธิวัฒน์ ปินตาเขียวen_US
dc.date.accessioned2024-07-08T10:43:41Z-
dc.date.available2024-07-08T10:43:41Z-
dc.date.issued2024-06-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79667-
dc.description.abstractThis independent study aims to categorize medications and select the most important drug groups for a hospital, employing the forecasting method with the lowest error rate for these essential drugs. The researcher utilized demand data for 1,501 drugs from 2018-2019 from a private hospital in Chiang Mai, Thailand. The drug categorization was conducted using a combined approach of Vital-Essential-Desirable (VED) Analysis and k-Means Clustering, a machine learning technique. The attributes used for clustering included Annual Drug Expenditure (ADE), average monthly usage, and variance. At least 3% of the total drugs in the essential category were then forecasted using statistical methods such as Simple Moving Average, Exponential Smoothing, Linear Regression, and machine learning methods like Artificial Neural Networks and Support Vector Machines. The forecasting results were evaluated using Mean Absolute Deviation (MAD) and Mean Absolute Percentage Error (MAPE). The study's findings show that out of the 1,501 drugs, the VED Analysis classified them into 213 Vital (14.19%), 588 Essential (39.17%), and 700 Desire (46.64%) drugs. The essential group was further analyzed using k-Means Clustering, resulting in drugs with high annual expenditure, high monthly movement, and high variance. A total of 45 drugs were selected for forecasting. The forecasting results indicated that machine learning methods, specifically Artificial Neural Networks and Support Vector Machines, provided better Mean Absolute Deviation for 22 (48.89%) and 6 (13.33%) drugs, respectively. Additionally, the Mean Absolute Percentage Error was more accurate for 23 (51.11%) and 12 (26.67%) drugs, respectively. Meanwhile, traditional statistical methods such as Simple Moving Average, Exponential Smoothing, and Linear Regression also performed well for certain drugs, sometimes yielding better results than the machine learning methods. The study concluded that forecasting essential drug groups through clustering is beneficial for prioritizing drugs and selecting the appropriate forecasting methods. It suggests initially using machine learning techniques and comparing them with other methods to determine the most suitable forecasting approach for each drug, thereby optimizing resource utilization in the analysis.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดกลุ่มยาเพื่อการพยากรณ์อุปสงค์ในโรงพยาบาลen_US
dc.title.alternativeMedicines clustering for demand forecasting in hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashยา -- การบริหาร-
thailis.controlvocab.thashการเข้าถึงยา-
thailis.controlvocab.thashอุปทานและอุปสงค์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดกลุ่มยาและคัดเลือกกลุ่มยาที่มีความสำคัญในโรงพยาบาล และเลือกวิธีพยากรณ์ที่มีค่าความคลาดเคลื่อนต่ำที่สุดให้กับกลุ่มยาสำคัญ ซึ่งการคัดเลือกกลุ่มยาสำคัญในโรงพยาบาลนั้น ผู้วิจัยได้ใช้ข้อมูลอุปสงค์ของยาจำนวน 1,501 รายการ ในปี 2561-2562 ของโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในเชียงใหม่ ดำเนินการคัดเลือกกลุ่มโดยใช้เทคนิคผสมผสานระหว่างการจัดประเภทด้วยวิธีจัดความสำคัญของตัวยา (VED Analysis) และจัดกลุ่มโดยเทคนิค k-Means Clustering ซึ่งเป็นหนึ่งในเทคนิคของการเรียนรู้ของเครื่องจักร (Machine Learning) โดยกำหนดให้ มูลค่าของยาต่อปี Annual Drug Expenditure (ADE), ค่าเฉลี่ยต่อเดือน และ ความแปรปรวน (Variance) เป็นคุณลักษณะของยาแต่ละรายการที่จะนำไปจัดกลุ่ม และนำยากลุ่มที่สนใจอย่างน้อย 3% ของยาทั้งหมดมาพยากรณ์ด้วยวิธีทางสถิติได้แก่ ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่าย (Simple Moving Average), การปรับเรียบแบบเอกซ์โปเนนเชียล (Exponential Smoothing), การถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression) และการเรียนรู้ของเครื่องจักรได้แก่ โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) และ เครื่องเวกเตอร์สนับสนุน (Support Vector Machine) และนำผลการพยากรณ์ไปวัดผลด้วยค่า ค่าเฉลี่ยความผิดพลาดสัมบูรณ์ (Mean Absolute Deviation, MAD) และ ค่าเฉลี่ยของร้อยละความผิดพลาดสัมบูรณ์ (Mean Absolute Percentage Error, MAPE) ผลการศึกษาพบว่าจากยา 1,501 รายการได้ทำการจัดประเภทโดยใช้เทคนิค VED Analysis แบ่งเป็น Vital 213 รายการ (14.19%), Essential 588 รายการ (39.17%), และ Desire 700 รายการ (46.46%) ซึ่งนำเฉพาะกลุ่ม Essential มาวิเคราะห์การจัดกลุ่มต่อด้วยเทคนิค k-Means Clustering ได้ผลเป็นรายการยาที่มีมูลค่าการใช้งานต่อปีค่อนข้างสูง การเคลื่อนไหวต่อเดือนและความแปรปรวนสูง ซึ่งได้รายการยาทั้งหมด 45 รายการเข้ากระบวนการพยากรณ์ ผลการพยากรณ์พบว่าการพยากรณ์โดยใช้การเรียนรู้ของเครื่องจักร (Machine Learning) ได้แก่ โครงข่ายประสาทเทียมและเครื่องเวกเตอร์สนับสนุน ให้ผลลัพธ์ค่าเฉลี่ยความผิดพลาดสัมบูรณ์ ที่ดีกว่ากับยาจำนวน 22 (48.89%) รายการ และ 6 (13.33%) รายการตามลำดับ สำหรับผลของค่าเฉลี่ยของร้อยละความผิดพลาดสัมบูรณ์ก็มีค่าที่แม่นยำกว่ากับยา 23 (51.11%) รายการ และ 12 (26.67%) รายการตามลำดับ ในขณะเดียวกันการพยากรณ์ด้วยค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่อย่างง่าย, ปรับเรียบเอกซ์โปเนนเชียล และ วิธีถดถอยเชิงเส้นก็ยังสามารถใช้ได้กับยาบางรายการ ซึ่งได้ผลการพยากรณ์ดีกว่าการพยากรณ์ที่ใช้การเรียนรู้ของเครื่องจักร ผลการศึกษาพบว่าการพยากรณ์กลุ่มยาสำคัญจากการจัดกลุ่มมีประโยชน์ในการจัดลำดับความสำคัญของยา และเลือกวิธีพยากรณ์ที่เหมาะสมได้ ซึ่งอาจเลือกใช้วิธีการพยากรณ์ด้วยการเรียนรู้ของเครื่องจักรก่อนและสามารถนำมาเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ เพื่อค้นหาว่ารายการยาดังกล่าวเหมาะกับการพยากรณ์แบบใด ควรค่าแก่การใช้ทรัพยากรณ์ในการวิเคราะห์หรือไม่en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632069-PARINTHIWAT PINTAKIEW.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.