Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79663
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.authorณัฐพล จั๋นแก้วen_US
dc.date.accessioned2024-07-08T10:11:05Z-
dc.date.available2024-07-08T10:11:05Z-
dc.date.issued2024-05-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79663-
dc.description.abstractThis study aimed to 1) examine the current and desired conditions of empowering teachers to become leaders in educational innovation, 2) explore the approaches to empowering teachers to become leaders in educational innovation, and 3) validate the approaches to empowering teachers to become leaders in educational innovation in pilot schools within the Educational Innovation Area under the Chiang Mai Secondary Educational Service Area Office. The sample consisted of 247 school administrators and teachers from pilot schools in the Educational Innovation Area. The informants included five experts. Data collection tools included questionnaires, interview records, and checklists. Data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Results revealed that 1. The current and desired conditions of empowering teachers to become leaders in educational innovation in the pilot schools in the Educational Innovation Area were generally at a high level. The aspect with the highest mean in the current condition was the promotion and development of cooperation within the school, while in the desired condition, it was motivating teachers. The overall necessity for empowering teachers to become leaders in educational innovation had a value of 0.13, with the greatest need being the aspect of motivating teachers. 2. The approaches to empowering teachers to become leaders in educational innovation in the pilot schools included: 1) School administrators should boost teachers' morale by giving gifts on occasions such as birthdays, graduation days, promotions, and various success milestones. 2) School administrators should listen to teachers' opinions and problems with empathy. 3)School administrators should allow teachers to make decisions regarding the use of innovations or technology in teaching, performing duties, and creating supportive systems for teachers in using innovations and technology. 4) School administrators should conduct themselves appropriately, be exemplary leaders, respected, orderly, and disciplined in their work. 5) School administrators should create open spaces for teachers to share their opinions and ideas, enabling the team to work together effectively. 3. The validation results indicated that the appropriateness, feasibility, and usefulness of the approaches to empowering teachers to become leaders in educational innovation in the pilot schools were at the highest level overall.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครูสู่ความเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมการศึกษาของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for empowering teacher leadership in educational innovation of educational sandbox pilot schools attached to the Secondary Education Service Area Office Chiang Maien_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashครู -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาการศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการปฏิรูปการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างพลังอำนาจครูสู่ความเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมการศึกษา ฯ 2) เพื่อศึกษาแนวทาง การเสริมสร้างพลังอำนาจครูสู่ความเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมการศึกษา ฯ และ 3) เพื่อตรวจสอบแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครูสู่ความเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมการศึกษาของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา ฯ จำนวน 247 คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบบันทึกการสัมภาษณ์ และแบบตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า 1. สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการเสริมสร้างพลังอำนาจครูสู่ความเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมการศึกษาของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาฯ พบว่า สภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือในสถานศึกษา สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการสร้างแรงจูงใจให้กับครู ส่วนความต้องการจำเป็นของการเสริมสร้างพลังอำนาจครูสู่ความเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมการศึกษาของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาฯ โดยภาพรวมมีค่า 0.13 ด้านที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด คือ ด้านการสร้างแรงจูงใจให้กับครู 2. แนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครูสู่ความเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมการศึกษาของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาฯ คือ 1) ผู้บริหารสถานศึกษาควรสร้างขวัญกำลังใจแก่ครู เช่น มอบของขวัญวันเกิด วันรับปริญญา การเลื่อนวิทยฐานะและโอกาสความสำเร็จต่าง ๆ 2) ผู้บริหารสถานศึกษาควรรับฟังความคิดเห็นและปัญหาของครูอย่างกัลยาณมิตร 3) ผู้บริหารสถานศึกษาควรให้โอกาสครูตัดสินใจในการใช้นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสำหรับ การจัดการเรียนรู้ การปฏิบัติงานในหน้าที่ และสร้างระบบที่สนับสนุนครูในการใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี 4) ผู้บริหารสถานศึกษาควรวางตัวให้เหมาะสมปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำ น่านับถือ เป็นระเบียบ รวมทั้งปฏิบัติงานอย่างมีวินัย และ 5) ผู้บริหารสถานศึกษาควรสร้างพื้นที่ที่เปิดกว้างให้ครูมีโอกาสพูดคุยและแบ่งปันความคิดเห็น เพื่อให้ทีมสามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผลการตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความเป็นประโยชน์ของแนวทางการเสริมสร้างพลังอำนาจครูสู่ความเป็นผู้นำด้านนวัตกรรมการศึกษาของสถานศึกษานำร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาฯ โดยภาพรวมพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232061 ณัฐพล จั๋นแก้ว.pdf32.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.