Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑารัตน์ มีสุขโข-
dc.contributor.advisorศรีมนา นิยมค้า-
dc.contributor.authorธนาวรรณ อินตาen_US
dc.date.accessioned2024-07-06T10:58:46Z-
dc.date.available2024-07-06T10:58:46Z-
dc.date.issued2024-02-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79634-
dc.description.abstractIron overload is a major problem for children with transfusion dependent thalassemia. Treatment requires the use of injectable and oral iron chelators. Therefore, a primary goal of treatment plans for these children is iron chelation adherence. This quasi-experimental two-group pretest-posttest design aimed to compare the mean score for iron chelation adherence among school–aged children with thalassemia before and after participating in an individual and family self-management program. The study also compared the mean score for iron chelation adherence between school-aged children with thalassemia who participated in the program and those who received usual care. The study sample consists of 36 school-aged children between the ages of 7-12 years who were diagnosed with thalassemia at a tertiary hospital in the upper northern region of Thailand. The data collection period was from July 2023 to September 2023. The research instruments consisted of 1) a general information questionnaire for school–aged children with thalassemia and their caregivers; 2) the Thai version of the Morisky Medication Adherence Scales (MMAS-8); and 3) the individual and family self-management program for school–aged children with thalassemia. Data were analyzed using descriptive statistics and t–test. The results revealed that iron chelation adherence after participating in the individual and family self-management program was significantly better than before participation (t .18, p < .001). Additionally, iron chelation adherence after participating in the individual and family self-management program was significantly better than that of school–aged children with thalassemia who did not participate (t -8.37, p < .001). The results of this study suggest that healthcare professionals should be encouraged to implement individual and family self-management programs for school-age children with thalassemia. By using this strategy, these school-age children can effectively increase their comprehension of iron chelation and enhance their cooperative behavior.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวต่อความร่วมมือในการใช้ยาขับเหล็กในเด็กโรคธาลัสซีเมียen_US
dc.title.alternativeEffect of the individual and family self-management program on iron chelation adherence among children with thalassemiaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashธาลัสซีเมียในเด็ก-
thailis.controlvocab.thashเด็ก -- โรค-
thailis.controlvocab.thashเลือดจางในเด็ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractธาตุเหล็กเกินเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญในผู้ป่วยเด็กโรคธาลัสซีเมียชนิดพึ่งพาเลือด ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาขับเหล็กทั้งในรูปแบบรับประทานและรูปแบบฉีด ดังนั้นความร่วมมือในการใช้ยาขับเหล็กของเด็กจึงเป็นเป้าหมายสำคัญของแผนการรักษา การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นแบบกึ่งทดลอง ชนิดสองกลุ่มวัดก่อน-หลังการทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความร่วมมือในการใช้ยาขับเหล็กของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมียก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัว และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยคะแนนความร่วมมือในการใช้ยาขับเหล็กระหว่างกลุ่มเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมียหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ กับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กวัยเรียนโรคาลัสซีเมียอายุระหว่าง 7-12 ปี ได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลระดับตติยภูมิในภาคเหนือตอนบน จำนวน 36 คน ระยะเวลารวบรวมข้อมูล ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2566 ถึงเดือน กันยายน 2566 เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมียและผู้ดูแลหลัก 2) แบบประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของมอริสกี้ 8 ข้อ ฉบับภาษาไทย 3) โปรแกรมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่าความร่วมมือในการใช้ยาขับเหล็กของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมียภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัว ดีกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ (t .18, p < .001) ความร่วมมือในการใช้ยาขับเหล็กของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย หลังเข้าร่วมโปรแกรมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ (t -8.37, p < .001) ผลจากการศึกษาครั้งนี้เสนอแนะว่า ควรมีการสนับสนุนบุคลากรด้านสุขภาพในการใช้โปรแกรมการจัดการตนเองของบุคคลและครอบครัวของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย เพื่อเพิ่มความเข้าใจในการใช้ยาขับเหล็กและส่งเสริมพฤติกรรมความร่วมมือในการใช้ยาขับเหล็กของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย ได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231167 ธนาวรรณ อินตา.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.