Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79610
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนรินทร์ นำเจริญ-
dc.contributor.authorพีรณัฐ เลิศพงศ์อดิศรen_US
dc.date.accessioned2024-07-04T01:11:17Z-
dc.date.available2024-07-04T01:11:17Z-
dc.date.issued2567-02-15-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79610-
dc.description.abstractThis independent study on presentation format of health-related content for the elderly people by social media influencers that aimed to study format of health-related content for the elderly people by social media influencers. This independent study employs a qualitative research methodology, utilizing a coding sheet format for data collection, to analyze the presentation formats of health information for the elderly by influencer. The research design incorporates a multistage cluster sampling approach, coupled with stratified sampling techniques. Influencers, classified into four groups of influencers, are randomly divided into two groups: Micro influencer (three individuals) and Macro influencer (three individuals). Subsequently, purposive sampling is employed to selectively present information pertinent to the elderly. The data is then analyzed, presenting the frequency Chanel in percentage terms, to unravel the nuances of health information presentation for the elderly by influential figures. 1. Influencer present informative content to offer health benefits for the elderly. The presentation includes health-related news, citing sources for credibility. It also covers contact information and product details, along with pricing. Subsequently, influential figures will present persuasive information, providing reasons for disease causes or prevention. This aims to build trust, referencing societal evidence. Emotional aspects will be introduced to raise awareness or stimulate consciousness, instilling fear in the audience. Psychological presentation techniques will be used, incorporating brand name. 2. Influential figures aim to overcome resistance in conveying information to the elderly by presenting new perspectives on diseases. They utilize storytelling, brand name, forewarnings, and two sided arguments include direct and indirect conclusion, addressing root causes, engaging customers, and gaining acceptance through problem-solving. Endorsements from customers, experts, and reputable individuals, along with reasoned persuasion, clear content, and compelling visuals, are key components. Attention is captured through warnings, brand identifiers, models for communication, and attention-grabbing images. 3. Influencer predominantly adopt a soft sell approach, focusing on providing health-related information and engaging in discussions on elderly health. This includes cautioning against behaviors that pose health risks for the elderly. Following a softer approach, they may incorporate a hard sell tactic by specifying product or service pricing information, presenting product recommendations, and issuing invitations to purchase or use services. Additionally, they may offer incentives such as discounts and provide contact information for further communication. 4. The content form of Influencer presentation can be classified into long-form content, presenting information in a narrative style to enhance understanding, often requiring more time for delivery. Subsequently, short-form content is utilized to convey information quickly. Conversations and content sharing involve collaborative and lengthy content presentation, as influential figures analyze and discuss health-related topics for the elderly.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอินฟลูเอนเซอร์en_US
dc.subjectผู้สูงวัยen_US
dc.subjectโรคในผู้สูงวัยen_US
dc.subjectการสื่อสารสุขภาพen_US
dc.subjectรูปแบบการนำเสนอen_US
dc.titleรูปแบบการนำเสนอเนื้อหาด้านสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยของผู้มีอิทธิพลทางความคิดบนสื่อสังคมออนไลน์en_US
dc.title.alternativePresentation format of health-related content for the elderly people by social media influencersen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ – การดูแล-
thailis.controlvocab.thashสื่อสังคมออนไลน์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง รูปแบบการนำเสนอเนื้อหาด้านสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยของผู้มีอิทธิพลทางความคิดบนสื่อสังคมออนไลน์ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อศึกษาหารูปแบบการนำเสนอของด้านสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยของผู้มีอิทธิพลทางความคิด ด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการเก็บตารางในการเก็บข้อมูล (Coding sheet) รูปแบบนำเสนอของผู้มีอิทธิพลทางความคิด โดยใช้วิธีการสุ่มการกำหนดสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่มหลายขั้นตอน (Multistage cluster sampling) ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบจัดพวก (Stratified sampling) จากอินฟลูเอนเซอร์ทั้งหมดแบ่งจาก 4 กลุ่ม เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ไมโครอินฟลูเอนเซอร์ จำนวน 3 คน และ มาโครอินฟลูเอนเซอร์ จำนวน 3 คน หลังจากนั้นใช้วิธีสุ่มตัวอย่างการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ด้วยการนำเสนอที่มีความเกี่ยวข้องกับผู้สูงวัย แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลรูปแบบการนำเสนอด้านสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยของผู้มีอิทธิพลทางความคิดโดยแจกแจงเป็นความถี่ ร้อยละหลังจากนั้น วิเคราะห์รูปแบบการนำเสนอข้อมูลด้านสุขภาพสำหรับผู้สูงวัยของผู้มีอิทธิพลทางความคิด ผลการศึกษาพบว่า 1. ผู้มีอิทธิพลทางความคิดจะนำเสนอเชิงข้อมูล (Information) เพื่อนำเสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพในผู้สูงวัย นำเสนอข้อมูลเชิงข่าวสาร เป็นข้อมูลทางสุขภาพโดยมีการอ้างถึงแหล่งข้อมูลเพื่อเป็นการพิสูจน์ว่าข้อมูลข่าวสารนั้นเป็นความจริง มีความน่าเชื่อถือ นำเสนอข้อมูลด้านการติดต่อกลับ และข้อมูลเชิงผลิตภัณฑ์ พร้อมกับข้อมูลด้านราคา ต่อมาผู้มีอิทธิพลทางความคิดจะนำเสนอข้อมูลเชิงชักจูงด้วยเหตุผลถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดโรค หรือเหตุผลป้องกันโรค สร้างความไว้วางใจแก่ผู้รับชม การอ้างอิงผ่านหลักฐานทางสังคม ต่อมานำเสนอเชิงอารมณ์ มีการนำเสนอที่มุ้งเน้นทางด้านอารมณ์ นำเสนอเพื่อให้กระหนักหรือปลุกจิตสำนึก สร้างความกลัวให้กับผู้รับชม และมีการใช้กลวิธีนำเสนอจิตวิทยาใต้สำนึก ผ่านการนำเสนอชื่อแบรนด์ 2. ผู้มีอิทธิพลทางความคิดมีการนำเสนอข้อมูลเพื่อลดความต่อต้าน (Resistance)ในผู้รับสารด้วยการ นำเสนอทัศนคติ ความคิด และมุมมองใหม่ ต่อโรคในผู้สูงวัย มีการสร้างเรื่องราว และนำเสนอชื่อแบรนด์ คำเตือนล่วงหน้า การนำเสนอข้อมูลทั้งสองด้าน การใช้ข้อสรุปโดยตรงกับข้อสรุปทางอ้อม การนำเสนอถึงต้นสายปลายเหตุ การมีส่วนร่วมกับลูกค้า ต่อมามีสร้างการยอมรับ (Gaining acceptance) ด้วยการนำเสนอปัญหาและวิธีแก้ไข การสาธิต การอ้างอิงถึงหลักฐาน การนำเสนอข้อมูลเชิงประจักษ์ การรับรองจากลูกค้า ผู้มีชื่อเสียง และผู้เชี่ยวชาญ การหักล้างด้วยเหตุผล การนำเสนอเกินจริง การบอกต่อ และการเรียกร้องให้ดำเนินการ ต่อมามีการกำหนดเนื้อหาที่มีความชัดเจน เรียบง่าย มีการนำเสนอข้อความที่มีพลัง และการใช้ภาพประกอบร่วมกับการนำเสนอ การใช้สีประกอบการให้ข้อมูล ต่อมาสร้าง สร้างการดึงดูดความสนใจ (Attention) ด้วยการแจ้งเตือนให้กลุ่มเป้าหมาย ใช้ตัวระบุแบรนด์ ใช้โมเดิลในการสื่อสาร ภาพที่น่าดึงดูด 3. ผู้มีอิทธิพลทางความคิดส่วนใหญ่จะนำเสนอข้อมูลด้วยลีลาไม่เน้นการขาย (Soft sell) จะเป็นการให้ความรู้ข้อมูลด้านสุขภาพ การพูดคุยกันในประเด็นสุขภาพผู้สูงวัย รวมไปถึงการตักเตือนพฤติกรรมที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคในผู้สูงวัย รองลงมาลีลาเน้นการขาย (Hard sell) ผู้มีอิทธิพลทางความคิดจะระบุ ข้อมูลด้านราคาของผลิตภัณฑ์หรือบริการ มีการนำเสนอเนื้อหาในลักษณะแนะนำผลิตภัณฑ์ คำเชิญชวนให้ซื้อหรือใช้บริการ การนำเสนอของแถม การลดราคา ข้อมูลด้านการติดต่อกลับ 4. ลักษณะเนื้อหา (Content form) ของผู้มีอิทธิพลทางความคิดได้แก่ คอนเทนต์แบบยาว (Long form content) มีการนำเสนอในลักษณะการพรรณนาเพื่อให้ผู้รับสารเข้าใจสิ่งที่จะนำเสนอมากขึ้น และใช้เวลานำเสนอมากขึ้นเช่นกัน ต่อมาคอนเทนต์แบบสั้น (Short form content) จะนำเสนอในเวลาอันสั้น ผู้รับสารสามารถเข้าใจสิ่งที่จะนำเสนอได้อย่างรวดเร็ว คอนเทนต์แบบการสนทนาและ การแบ่งปันเนื้อหา (Conversations and sharing content) จะเป็นการนำเสนอร่วมกับคอนเทนต์ในลักษณะยาว เนื่องจากผู้มีอิทธิพลทางความคิดจะนำเสนอเนื้อหาด้วยวิธีการวิเคราะห์ การอภิปรายเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพในผู้สูงวัยen_US
Appears in Collections:MASSCOMM: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621832010-พีรณัฐ เลิศพงศ์อดิศร.pdf6.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.