Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79573
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorกนกขวัญ บุณยะจิตติen_US
dc.date.accessioned2024-06-24T09:56:37Z-
dc.date.available2024-06-24T09:56:37Z-
dc.date.issued2024-04-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79573-
dc.description.abstractThis research aims to study 1) The process of resolving complaints and coordinating cooperation with other relevant sectors to settle complaints between parties. 2) Methods and processes for reconciling disputes between complainants and defendants to resolve consumer complaints at the Chiang Mai Provincial Consumer Protection Office. 3) The obstacles in the operation of the Chiang Mai Provincial Consumer Protection Office. 4) Feedback from complainants and defendants regarding the operations to resolve complaints by the Chiang Mai Provincial Consumer Protection Office. This study employs a qualitative research methodology by collecting in - depth interview data from managers and staff members at the Chiang Mai Provincial Consumer Protection Office and related agencies, totaling 8 representatives, as well as 24 complainants and defendants, for a total of 32 participants. The research tools include semi-structured interview questionnaires consisting of two sets. Set 1 for state officials and involved parties, and Set 2 for complainants and defendants. The study findings are as follows 1) The Chiang Mai Provincial Consumer Protection Office handles complaints in accordance with legal procedures and regulations governing the conduct of public officials for the benefit of the public. Complaint resolution involves coordinating with both government and private sector entities through data analysis or verification of facts related to the dispute, both formally and informally. 2) In the negotiation process to resolve conflicts, there are mediators who facilitate discussions and negotiations to reach mutual agreements, using both face-to-face and separate-room formats. 3) The problems identified include inadequate power structures and duties among personnel, as well as cases where one party fails to comply with agreements despite recording them, which may lead to further legal action. 4) Feedback from both complainants and defendants suggests that mediators play a crucial role in negotiation processes, acting as neutral intermediaries with professional conduct and positive attitudes, adhering to principles of effective dispute resolution.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการดำเนินงานเพื่อยุติปัญหาเรื่องร้องทุกข์จากผู้บริโภคของสำนักงานคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeOperations to resolve complaints from consumers of Chiang Mai provincial consumer protection subcommittee officeen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashการร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาคดีปกครอง)-
thailis.controlvocab.thashผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ระหว่างคู่กรณี และการประสานความร่วมมือกับภาคส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อยุติข้อร้องทุกข์ 2) วิธีการและกระบวนการไกล่เกลี่ยประนีประนอมข้อพิพาท ระหว่างผู้ร้องทุกข์และผู้ถูกร้องทุกข์เพื่อยุติปัญหาเรื่องร้องทุกข์ของสำนักงานคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัดเชียงใหม่ 3) ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของสำนักงานคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัดเชียงใหม่ 4) ความคิดเห็นของผู้ร้องทุกข์และผู้ถูกร้องทุกข์เกี่ยวกับการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัดเชียงใหม่การศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บข้อมูลการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ ณ คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัดเชียงใหม่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 8 ราย ผู้แทนผู้ร้องทุกข์และผู้ถูกร้องทุกข์ จำนวน 24 ราย รวมทั้งหมด จำนวน 32 ราย เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง ประกอบไปด้วยแบบสัมภาษณ์ 2 ชุด ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ชุดที่ 1 สำหรับเจ้าหน้าที่รัฐผู้ปฏิบัติงานและมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และแบบสัมภาษณ์ชุดที่ 2 สำหรับผู้ร้องทุกข์และผู้ถูกร้องทุกข์ ผลการศึกษา พบว่า 1) การดำเนินการแก้ไขปัญหาเรื่องร้องทุกข์ของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัดเชียงใหม่ มีการดำเนินงานตามขั้นตอนของกฎหมายและระเบียบคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคประจำจังหวัด การดำเนินการแก้ไขปัญหาใช้วิธีการประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน โดยการประสานขอความอนุเคราะห์ข้อมูลหรือผลการตรวจสอบข้อเท็จจริงในประเด็นข้อพิพาท ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 2) ในขั้นตอนการเจรจาไกล่เกลี่ยเพื่อแก้ไขความขัดแย้ง มีเจ้าหน้าที่เป็นคนกลางในการกำหนดประเด็น การพูดคุย ทั้งรูปแบบต่อหน้าและแยกห้อง เพื่อหาข้อตกลงและทำข้อตกลงร่วมกัน 3) ปัญหาที่พบ คือ ด้านบุคลากรมีโครงสร้างอำนาจหน้าที่ที่ไม่เหมาะสมเพียงพอ และในกรณีที่มีการทำบันทึกข้อตกลงแล้ว แต่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ปฏิบัติตามต้องนำไปฟ้องร้องในชั้นศาลต่อไป 4) ความคิดเห็นจากผู้ร้องทุกข์และผู้ถูกร้องทุกข์ให้ความเห็นว่า เจ้าหน้าที่ไกล่เกลี่ยมีส่วนสำคัญมากในการเจรจาไกล่เกลี่ยเป็นตัวกลางพูดคุยอย่างมีวุฒิภาวะและทัศนคติที่ดี มีหลักการเจรจาไกล่เกลี่ยประนีประนอมข้อพิพาทที่ดีen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932010 - กนกขวัญ บุณยะจิตติ.pdf7.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.