Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79538
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.authorอมร กิติen_US
dc.date.accessioned2024-06-19T11:42:12Z-
dc.date.available2024-06-19T11:42:12Z-
dc.date.issued2024-04-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79538-
dc.description.abstractThe Purposes of this research were to study 1) the operational in Court Integral Online Service of Lamphun Juvenile and Family Court staff, 2) the need to develop digital technology skills in the Court Integral Online Service of Lamphun Juvenile and Family Court staff, and 3) propose guidelines for skill development. Digital technology in Court Integral Online Service for Lamphun Juvenile and Family Court staff. This was qualitative research, collecting data from 17 key informants, including: 1. Executives at the director level who has performed administrative duties for not less than 5 years, 1 person. 2. Administrator who has performed duties for not less than 3 years, 1 person. 3. Users of the court's internal system. With experience of not less than 3 years, 1 person, and 4. 14 people or users who used online court system. Research tools was a semi-structured interview. Data were collected through in-depth interviews. Data were analyzed by content analysis and descriptive analysis method. The results of the study showed: 1) the use of the digital system is convenient and fast. Mainly used for transcribing judgments into automatic electronic files 24 hours a day, which is one of the services provided through the Court Integral Online Service. 2) Development of digital skills of personnel requires civil servants of the Court of Justice, permanent employees, government employees of the Court of Justice and temporary employees under the Court of Justice must receive digital skills’ development on unlimited topics each fiscal year, not less than 20 hours per person per year. Which is sufficient for operations and digital skills that need to be developed include operational skills’ system control skills problem-solving skills and skills in using the program and 3) There are many styles to developing digital skills, such as on the job training, site visit, and training seminars. This was to provide personnel with knowledge and understanding and be able to perform digital tasks efficiently.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของบุคลากรศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดลำพูนen_US
dc.title.alternativeDigital technology skills development of the Lamphun Juvenile and Family Court Staffen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashศาลคดีเด็กและเยาวชน -- ลำพูน-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยี -- บริการสารสนเทศ-
thailis.controlvocab.thashศาล -- ข้าราชการและพนักงาน-
thailis.controlvocab.thashบุคลากรกระบวนการยุติธรรมทางอาญา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการปฏิบัติงานในระบบบริการออนไลน์ศาลยุติธรรมของบุคลากรศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดลำพูน 2) ศึกษาความต้องการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในระบบบริการออนไลน์ศาลยุติธรรมของบุคลากรศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดลำพูน และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในระบบบริการออนไลน์ศาลยุติธรรมของบุคลากรศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดลำพูน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 17 คน ได้แก่ 1.ผู้บริหารระดับผู้อำนวยการที่ปฏิบัติหน้าที่ในงานบริหารไม่น้อยกว่า 5 ปี 1 คน 2. ผู้ดูแลระบบที่ปฏิบัติงานมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี 1 คน 3. ผู้ใช้งานระบบภายในศาลฯ ที่มีประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 3 ปี 1 คน และ 4. ประชาชนหรือผู้ใช้บริการระบบศาลยุติธรรมออนไลน์ จำนวน 14 คน เครื่องมือวิจัย คือแบบสัมภาษณ์กึ่งมีโครงสร้าง เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหาและการพรรณนาเชิงวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพการปฏิบัติงานด้านการใช้ของระบบดิจิทัลมีความสะดวกและรวดเร็ว ส่วนใหญ่ใช้เกี่ยวกับการคัดถ่ายคำพิพากษาเป็น File อิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติ 24 ชั่วโมง ซึ่งเป็นหนึ่งในการให้บริการผ่านระบบบริการออนไลน์ศาลยุติธรรม 2) การพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของบุคลากรกำหนดให้ข้าราชการศาลยุติธรรม ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการศาลยุติธรรม และลูกจ้างชั่วคราวในสังกัดสำนักงานศาลยุติธรรมต้องได้รับการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลไม่จำกัดหัวข้อในแต่ละปีงบประมาณ ไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมงต่อคนต่อปี ซึ่งเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน และทักษะดิจิทัลที่ต้องการพัฒนา ได้แก่ ทักษะการปฏิบัติงาน ทักษะการควบคุมระบบ ทักษะการแก้ปัญหาและทักษะการใช้โปรแกรม และ 3) แนวทางการพัฒนาทักษะดิจิทัล มีหลายแนวทาง เช่น การฝึกปฏิบัติงานจริง การศึกษาดูงานนอกสถานที่ และการอบรมสัมมนา ทั้งนี้เพื่อให้เจ้าหน้าที่บุคลากรมีความรู้และความเข้าใจ สามารถปฏิบัติงานได้ด้านดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932044-อมร กิติ.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.