Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79423
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรษพร อารยะพันธ์ | - |
dc.contributor.author | สุพิฌา เนียมทรัพย์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-01-19T10:13:46Z | - |
dc.date.available | 2024-01-19T10:13:46Z | - |
dc.date.issued | 2023-09-19 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79423 | - |
dc.description.abstract | Research on analysis and data visualization of the settlement patterns of ethnic groups in Lanna. The objectives of this research aimed 1) to analyze and classify the settlements of ethnic groups in Lanna 2) to display data visualizations of the settlements of ethnic groups in Lanna. Using research and development research methods, the tool used to collect data was the settlement analysis form of ethnic groups in Lanna. Information resources containing content on the settlement of ethnic groups in Lanna total 311 items from 17 information sources. The results found that there was group knowledge about the settlement of ethnic groups in Lanna, totaling 17 classes. Then, content redundancy was taken into account. Can be grouped into 17 classes to make the knowledge of the settlement of ethnic groups in Lanna more accurate, comprehensive, and complete. It has been sent to three classification experts to check again. From the results of the evaluation of knowledge grouping of settlements of ethnic groups in Lanna. It can be used as a source of knowledge about the settlement of ethnic groups in Lanna, totaling 17 main classes. The main classes are 1) settlement 2) occupation 3) language 4) dress 5) residence 6) family 7) beliefs 8) religion 9) way of life and traditions 10) religious ceremonies and rituals 11) treatment of disease 12) food 13) government 14) education 15) character 16) music and dance; and 17) games. It can be classified into 65 sub-classes, 75 divisions, 352 sub-divisions I, and 59 sub-divisions II. Data visualization of the settlement patterns of ethnic groups in Lanna The tool used in the development is the MapHub program. The website display 1) shows results according to all 25 ethnicช groups in Lanna and 2) shows results of knowledge groups regarding settlement of 17 ethnic groups in Lanna, including 1) settlement 2) occupation 3) language 4) dress 5) residence 6) family, 7) beliefs, 8) religion, 9) way of life and traditions 10) religious ceremonies and rituals 11) treatment of disease 12) food 13) government 14) education 15) character 16) music and dance and 17) games. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลเชิงภาพการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา | en_US |
dc.title.alternative | Analysis and data visualization of the settlement patterns of ethnic groups in Lanna | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | การวิเคราะห์เนื้อหา | - |
thailis.controlvocab.lcsh | กลุ่มชาติพันธุ์ | - |
thailis.controlvocab.lcsh | การตั้งถิ่นฐาน --ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- ล้านนา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยเรื่องการวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงภาพการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ใน ล้านนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อวิเคราะห์และจัดกลุ่มการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา 2) เพื่อนาเสนอข้อมูลเชิงภาพของการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยการ วิจัยและการพัฒนา (Research and Development) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบวิเคราะห์ การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา ทรัพยากรสารสนเทศที่มีเนื้อหาด้านการตั้งถิ่นฐานของ กลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา จำนวน 311 รายการ จากแหล่งสารสนเทศ จำนวน 17 แห่ง ผลการวิจัยพบว่า สามารถจัดกลุ่มความรู้การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา ทั้งหมด จำนวน 17 หมวด จากนั้นนามาพิจารณาความซ้าซ้อนทางเนื้อหา สามารถจัดกลุ่มออกจำนวน 17 หมวด และเพื่อให้กลุ่มความรู้การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนามีความถูกต้อง ครอบคลุม และสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ได้ส่งให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดหมวดหมู่ จำนวน 3 คนตรวจสอบอีกครั้ง จากผล การประเมินการจัดกลุ่มความรู้การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา สามารถนามาใช้เป็ นกลุ่ม ความรู้การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา จำนวน 17 หมวดใหญ่ ได้แก่ 1) การตั้งถิ่นฐาน 2) อาชีพ 3) ภาษา 4) การแต่งกาย 5) ที่อยู่อาศัย 6) ครอบครัว 7) ความเชื่อ 8) ศาสนา 9) ความเป็นอยู่และ ประเพณี 10) พิธีทางศาสนาและพิธีกรรม 11) การรักษาโรค 12) อาหาร 13) การปกครอง 14) การศึกษา 15) ลักษณะนิสัย 16) ดนตรี และ 17) การละเล่น หมวดย่อยจำนวน 65 หมวดย่อย หมู่จำนวน 175 หมู่ หมู่ย่อยที่ 1 จำนวน 352 หมู่ย่อย และหมู่ย่อยที่ 2 จำนวน 59 หมู่ย่อย การน าเสนอข้อมูลเชิงภาพการตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา เครื่องมือที่ใช้ในการ พัฒนา คือ โปรแกรม MapHub การแสดงผลของเว็บไซต์ มี 2 ส่วน 1) แสดงผลตามกลุ่มชาติพันธุ์ใน ล้านนา ทั้ง 25 กลุ่ม และ 2) แสดงผลกลุ่มความรู้การตั้งถิ่นฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ในล้านนา 17 กลุ่ม ได้แก่ 1) การตั้งถิ่นฐาน 2) อาชีพ 3) ภาษา 4) การแต่งกาย 5) ที่อยู่อาศัย 6) ครอบครัว 7) ความเชื่อ 8) ศาสนา 9) ความเป็ นอยู่และประเพณี 10) พิธีทางศาสนาและพิธีกรรม 11) การรักษาโรค 12) อาหาร 13) การปกครอง 14) การศึกษา 15) ลักษณะนิสัย 16) ดนตรี และ 17) การละเล่น | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620132045-SUPICHA NIEMSUP.pdf | 15.47 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.