Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79415
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุฑามาศ โชติบาง | - |
dc.contributor.advisor | เนตรทอง นามพรม | - |
dc.contributor.author | นันทิพร บุสทิพย์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-01-14T17:18:08Z | - |
dc.date.available | 2024-01-14T17:18:08Z | - |
dc.date.issued | 2566-11-16 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79415 | - |
dc.description.abstract | Neonatal jaundice is a major cause of infants being readmitted to the hospital after discharge. The aims of this quasi-experimental study were to compare the care behavior of mothers of newborns with jaundice and the readmission rate of newborns with jaundice between a control and an experimental group on day 3 and day 7 after discharge. Fifty mothers of newborns with jaundice were divided into the control or experimental group, each with 25 pairs. The experimental group received the multimedia supportive-educative nursing system program whereas the control group received routine nursing care. A personal data record form and the questionnaire on care behavior of mothers of newborns with jaundice were used to collect data which were analyzed using descriptive statistics and the Mann-Whitney U test. The results found that mothers in the experimental group had higher mean scores of care behavior than those in the control group (p < .05). There was also no significant difference in hospital readmission rates of newborns on the third day after discharge from the hospital between the experimental and control groups (p >.05). Furthermore, the experimental group did not have any cases of hospital readmission. The results show that the multimedia supportive-educative nursing system program could promote maternal care behaviors for newborns with jaundice after hospital discharge, leading to prevention of hospital readmission. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ภาวะตัวเหลือง | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ด้วยสื่อมัลติมีเดียต่อพฤติกรรมการดูแลของมารดาสำหรับทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล | en_US |
dc.title.alternative | Effect of the multimedia supportive-educative nursing system program on care behaviors of mothers for newborns with jaundice after hospital discharge | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ดีซ่านในทารกแรกเกิด | - |
thailis.controlvocab.thash | ทารกแรกเกิด -- การดูแล | - |
thailis.controlvocab.thash | ทารกแรกเกิด -- โรค | - |
thailis.controlvocab.thash | มารดาและทารก | - |
thailis.controlvocab.thash | ดีซ่านในทารกแรกเกิด -- การสอนด้วยสื่อ | - |
thailis.controlvocab.thash | การสอนด้วยสื่อ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ปัญหาภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ทารกที่ได้รับการจำหน่ายแล้วกลับมารักษาในโรงพยาบาลซ้ำ การศึกษาวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมการดูแลของมารดาในทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองและอัตราการกลับเข้ารักษาในโรงพยาบาลซ้ำของกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง วันที่ 3 และ 7 หลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาและทารกที่มีภาวะตัวเหลือง จำนวน 50 คู่ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 25 คู่ โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ด้วยสื่อมัลติมีเดีย กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลของมารดาทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลือง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติทดสอบแมนวิทนีย์ยู ผลวิจัยพบว่า มารดาทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองในกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลของมารดาทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองมากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) และพบว่าอัตราการกลับเข้ารักษาในโรงพยาบาลซ้ำของทารกในวันที่ 3 หลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (p > .05) โดยกลุ่มทดลองไม่มีอัตราการกลับเข้ารักษาในโรงพยาบาลซ้ำ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ด้วยสื่อมัลติมีเดียสามารถช่วยส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองของมารดาหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลทำให้ทารกไม่มีการกลับเข้ารักษาในโรงพยาบาลซ้ำ | en_US |
Appears in Collections: | NURSE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
631231168-นันทิพร บุสทิพย์.pdf | 8.25 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.