Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79397
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัจฉรา คำอักษร | - |
dc.contributor.author | หทัยรัตน์ สิมะวงค์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2024-01-11T10:15:00Z | - |
dc.date.available | 2024-01-11T10:15:00Z | - |
dc.date.issued | 2566-10-27 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79397 | - |
dc.description.abstract | This independent study aims to 1) to identify key concepts of knowledge transfer and social networks of critical knowledge of Highland Research and Development Institute (Public Organization) or HRDI 2) to identify critical factors of the knowledge transfer from key actors or experts of critical knowledge and 3) to develop and design knowledge transfer framework. This study used mixed research methods including a Social Network Analysis (SNA) for a quantitative analysis, while qualitative data was analyzed from expert interviews. Data was collected from the online questionnaires. There were 153 staff who responded to the questionnaires. The results from quantitative analysis using the UCINET program showed that most of experts (Key actors) share similar attributes including age 41-50 years old, graduated with master degree, working experience in Highland Research and Development Institute (Public Organization) more than 10 years, and working in professional position level 6 which is the level of Head of Section. In terms of social networks analysis from Netdraw program, a large network HRDI’s staff connecting together for transferring knowledge in each knowledge was revealed. However, some HRDI staff chose to work from the network in both in pairs and in. The result from expert interviews found that knowledge transfer framework should pay attention to the requirement from staff and focus on persuading staff who worked in pairs and isolate to join the knowledge transfer networks. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การถ่ายโอนความรู้ | en_US |
dc.title | การถ่ายโอนความรู้ในสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ในมุมมองของการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม | en_US |
dc.title.alternative | Knowledge transfer in Highland Research and Development Institute (Public Organization): a social network perspective | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) -- พนักงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | การบริหารองค์ความรู้ | - |
thailis.controlvocab.thash | การเรียนรู้องค์การ | - |
thailis.controlvocab.thash | เครือข่ายสังคม | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดหลักของกระบวนการถ่ายโอนความรู้ (Knowledge Transfer) และเครือข่ายทางสังคม (Social Networks) ของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) หรือ สวพส. 2) เพื่อระบุปัจจัยสำคัญ (Critical Factors) ที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการถ่ายโอนความรู้ของ สวพส. และ 3) เพื่อออกแบบและพัฒนากรอบแนวคิดทางการถ่ายโอนความรู้ (Knowledge Transfer Framework) ของ สวพส. การค้นคว้าอิสระนี้ใช้วิธีการศึกษาทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (Mixed Methods) โดยใช้การวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม (Social Network Analysis) เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยมีบุคลากร จำนวน 153 คน เข้าร่วมตอบแบบสอบถามแบบออนไลน์ เพื่อค้นหาผู้เชี่ยวชาญ (Key Actor) ของแต่ละองค์ความรู้ ผลจากการวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป UCINET พบว่า ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ มีอายุช่วง 41-50 ปี สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท มีประสบการณ์การทำงานใน สวพส. มายาวนานมากกว่า 10 ปี และเป็นบุคลากรในระดับตำแหน่ง 6 ซึ่งเป็นระดับของหัวหน้ากลุ่มงาน ในด้านเครือข่ายทางสังคม แผนภาพจากการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Netdraw พบว่า สมาชิกส่วนใหญ่ในเครือข่ายของแต่ละองค์ความรู้มีการรวมตัวกันและเกาะกลุ่มกันในการถ่ายโอนความรู้หนาแน่นพอสมควร แต่ก็ยัง มีสมาชิกบางส่วนที่ถ่ายโอนความรู้กันเป็นคู่ (Pair) และมีบางส่วนไม่ทราบเลยว่าต้องไปหาความรู้จากใคร ทำให้ผลปรากฏในแผนภาพเป็นการทำงานในลักษณะที่แยกออกไปจากกลุ่ม (Isolate) จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ (Key Actor) พบว่า กรอบแนวคิดการถ่ายโอนความรู้ (Knowledge Transfer Framework) ต้องยึดความต้องการของบุคลากรเป็นศูนย์กลาง และมุ่งเน้นการดึงสมาชิกที่แยกตัวออกไปจากกลุ่ม (Isolate) และสมาชิกที่เลือกทำงานเป็นคู่ (Pair) ให้เข้ามาร่วมเครือข่ายถ่ายโอนความรู้ของ สวพส. | en_US |
Appears in Collections: | CAMT: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
632132007 หทัยรัตน์ สิมะวงค์.pdf | 5.13 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.