Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTinakon Wongpakaran-
dc.contributor.advisorNahathai Wongpakaran-
dc.contributor.advisorWedding, Danny-
dc.contributor.authorDeMaranville, Justin Rossen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T17:09:39Z-
dc.date.available2023-12-12T17:09:39Z-
dc.date.issued2022-02-16-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79329-
dc.description.abstractBackground: Attachment theory has a predictive influence on distress regulation and mental health outcomes, either positive (e.g., resilience) or negative (e.g., depression), and many psychosocial variables mediate those relationships. Thai adolescents within Thailand's predominately Buddhist culture have opportunity to practice meditation and adhere to the five precepts (refraining from killing, stealing, sexual misconduct, lying, alcohol and intoxicants). Little is known about the role of meditation and five precepts on the relationship between attachment and mental health outcomes. Objectives: This research aimed to examine how Buddhist meditation and five precepts mediated the relationship between attachment and mental health outcomes amongst Thai adolescent boarding school students, with the hypotheses that Buddhist meditation and precepts would associate with the decreased negative and increased positive outcomes. Methods: A cross-sectional study was conducted on 453 high-school Thai students (mean age 16.34 ±.95) from five boarding schools in the northern Thai region. Assessments were administered online and by paper at the schools to collect demographic information and measuring attachment using Relationship Questionnaire (RQ) and Experiences of Close Relationships - Revised (ECR-R), meditation with the Inner-Strength Based Inventory (I-SBI), precepts with the Precept Practice Questionnaire (PPQ), and positive and negative mental health outcomes with the Resilience Inventory (RI), Rosenberg Self-Esteem Scale (RSES), Multidimensional Scale of Perceived Social Support (MSPSS), Perceived Stress Scale (PSS), and 21-item Outcome Inventory (OI-21). Parallel mediation analysis was performed on all outcome variables. Results: The distribution of attachment style was 52.8%, 13.2%, 20.8%, and 13.2% for secure, fearful, preoccupied, and dismissing, respectively. ECR-R anxiety and avoidance were 2.80 ± 1.2, and 2.76 ± 1.1, respectively. Meditation was practiced frequently, and precepts were adhered to often. Mediation analysis proved the hypothesis that precepts and meditation do mediate the influence of attachment anxiety and avoidance on mental health outcomes. The explained variance of the outcome from the mediation models ranged from 18% to 35%. Mediation model increased the R2 of linear model from 5.2% to 74.2%, by that resilience was shown to have the largest increase of R2. Male. Buddhist school, Buddhist religion, and family income showed to be the significant covariates. Conclusions: The mediation analysis indicates Buddhist precepts and meditation practices are related to reduced negative mental health outcomes and strengthened positive mental health outcomes. Buddhist five precepts and meditation are available socio-religious practices in Thailand with low-cost psychological benefits. Thai adolescents can benefit from these practices with encouragement from institutions and schools or from within the home. Further study regarding other adolescent populations and longitudinal design is recommended.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAttachment styles, meditation, religious precepts, and mental health of teenage boarding school students in Northern Thailand: a mediation modelen_US
dc.title.alternativeรูปแบบของความรู้สึกผูกพัน การทําสมาธิศีลตามหลักศาสนาและสุขภาพจิตของนักเรียนวัยรุ่นในโรงเรียนพักนอนทางภาคเหนือของประเทศไทย: โมเดลตัวแปรคั่นกลางen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshCommitment (Psychology)-
thailis.controlvocab.lcshStudents -- Mental health-
thailis.controlvocab.lcshBuddhist meditation-
thailis.controlvocab.lcshSamadhi-
thailis.controlvocab.lcshBuddhist precepts-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความเป็นมา: ทฤษฎีความผูกพันมีอิทธิพลทำนายการควบคุมความกับข้องใจและผลลัพธ์ทาง สุขภาพจิตไม่ว่าจะเป็นในด้านบวก (เช่น resilience) หรือ ด้านลบ (เช่น ภาวะซึมเศร้า) และตัวแปรทาง จิตสังคมหลายอย่างเป็นตัวแปรคั่นกลางระหว่างความสมพันธ์เหล่านี้ วัยรุ่นที่เติบโตในวัฒนธรรมไทย ส่วนใหญ่มีโอกาสที่จะได้ฝึกทำสมาธิและรักษาเบญจศีล (ละเว้นจากการทำให้ผู้อื่นเสียชีวิต การถือเอา สิ่งของของผู้อื่นที่เขาไม่ได้ให้ การประพฤดิผิดในกาม การพูดเท็จ และ การเสพสุราและสิ่งมึนเมา) องค์ความรู้เกี่ยวกับบทบาทของการทำสมาธิและเบญจศีลต่อความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะความ ผูกพันและผลลัพธ์ทางสุขภาพจิตยังมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน วัตถุประสงค์: งานวิจัยนี้ต้องการศึกษาว่าการทำสมาธิแบบพุทธและเบญจศีลเป็นตัวแปร คั่นกลางของความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะความผูกพันและผลลัพธ์ทางสุขภาพจิตในนักเรียนที่อยู่ใน วัยรุ่นในโรงเรียนพักนอน โดยมีสมมติฐานว่าการทำสมาธิแบบพุทธและเบญจศีลจะสามารถลด ผลลัพธ์ด้านลบและเพิ่มผลลัพธ์ด้านบวกทางสุขภาพจิตได้ วิธีการ การศึกษาภาคตัดขวางในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 453 คน (อายุเฉลี่ย 16.34 ±.95 ปี) จากโรงเรียนพักนอนจำนวน 5 แห่งในภาคเหนือของประเทศไทย การเก็บข้อมูลมีทั้งแบบ ออนไลน์และแบบกระคาษ โดยมีข้อมูลด้านประชากร ลักษณะความผูกพัน ใช้แบบสอบถามเรื่อง ความสัมพันธ์และแบบสอบถามเรื่องสัมพันธภาพกับพ่อแม่ ฉบับปรับปรุง การทำสมาธิใช้แบบวัด พลังใจ เบญจศีลใช้แบบสอบถามเรื่องการรักษาศีล ผลลัพธ์ด้านบวกและด้านลบ ใช้แบบสอบถามเรื่อง ความสามารถในการกลับสู่สภาพเดิม แบบวัดความภาคภูมิใจในตนเอง แบบสอบถามความรู้สึก หลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม แบบวัดความรู้สึกเครียด และแบบสอบถามอาการ 21 ข้อ มีการวิเคราะห์ตัวแปรคั่นกลางแบบคู่ขนานสำหรับตัวแปรผลลัพธ์ทางสุขภาพจิตทุกตัวแปร ผลการศึกษา: พบลักษณะความผูกพันแบบมั่นคง หวาคกลัว หมกมุ่น และ ถอยห่างร้อยละ 52.8, 13.2, 20.8 และ 13.2 ตามลำดับ แบบสอบถามเรื่องสัมพันธภาพกับพ่อแม่แบบวิตกกังวล และ แบบหลีกเลี่ยงมีคะแนนรายข้อเฉลี่ย 2.80 ± 1.2 และ 2.76 ± 1.1 ตามลำดับ อาสาสมัครทำสมาธิ บ่อยครั้งและรักษาเบญจศีลบ่อย ๆ การวิเคราะห์ตัวแปรคั่นกลางพิสูจน์สมมติฐานได้ว่าการรักษาศีล และการทำสมาธิเป็นตัวแปรคั่นกลางสำหรับอิทธิพลของลักษณะความผูกพันแบบวิตกกังวลและแบบ หลีกเลี่ยงต่อผลลัพธ์ทางสุขภาพจิต ความแปรปรวนของผลลัพธ์จากโมเดลตัวแปรคั่นกลางอธิบาย ความสัมพันธ์ของตัวแปรได้อยู่ระหว่างร้อยละ 18 ถึงร้อยละ 35 โมเดลตัวแปรคั่นกลางเพิ่มการอธิบาย ในโมเดลเส้นตรงจากเดิมร้อยละ 5.2 เป็นร้อยละ 74.2 ซึ่งพบว่าแบบสอบถามเรื่องความสามารถใน การกลับสู่สภาพเดิมมีค่าการเพิ่มขึ้นนี้สูงที่สุด พบว่าเพศชาย โรงเรียนพุทธ การนับถือศาสนาพุทธ และรายได้ของครอบครัวเป็นตัวแปรร่วมที่มีผลอย่างมีนัยสำคัญ สรุป: การวิเคราะห์โมเดลตัวแปรคั่นกลางบ่ชี้ว่าเบญจศีล และการทำสมาธิมีความสัมพันธ์ กับการลดลงของผลลัพธ์ด้านลบทางสุขภาพจิต และเพิ่มผลลัพธ์ด้านบวกทางสุขภาพจิต เบญจศีลและ การทำสมาธิเป็นการปฏิบัติตัวด้านสังคมและศาสนาที่ทำได้ง่ายในประเทศไทยและก่อให้เกิดผลดีต่อ จิตใจโดยไม่ต้องลงทุนมากนัก วัยรุ่นชาวไทยจะยังประโยชน์ได้จากการฝึกฝนสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ โดย อาศัยการสนับสนุนจากสถาบันการศึกษาและจากครอบครัว ควรทำการศึกษาต่อไปในประชากรวัยรุ่น กลุ่มอื่น ๆ หรือทำการเก็บข้อมูลในระยะยาวen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
639935802 JUSTIN ROSS DEMARANVILLE.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.